ผลงานหนังสือ
ลำดับ | ปก | ชื่อเรื่อง | ผู้แต่ง/ปริวรรต | ปีงบประมาณ | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|---|
1 | โบราณวัตถุ-โบราณสถานในวัดล้านนา | อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว | 2549 | ||
2 | พจนานุกรมภาษาล้านนา | อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว | 2550 | [สำหรับจำหน่าย] | |
3 | หนูเผือก-หนูคำ (ปริวรรตเอกสารโบราณ) | อนาโตล โจเจอร์เป็ลติเยร์ | 2552 | ||
4 | ไทลื้อในล้านนา: กรณีศึกษา บ้านแม่สาบ | ยุพิน เข็มมุกด์ | 2552 | บทคัดย่อ
ดาวน์โหลด: Abstract Lue52
ดาวน์โหลด: 263, ขนาด: 72.6 KB
|
|
5 | ช่อและตุง ศิลป์แห่งศรัทธา ภูมิปัญญาท้องถิ่น | ยุพิน เข็มมุกด์ | |||
6 | พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาปรินิพพาน | อนาโตล โรเจอร์ เป็ลติเยร์ | 2553 | ||
7 | โลกหน้าล้านนา พัฒนาการการสร้างปราสาทศพต่างสัตว์หิมพานต์และการก่อกู้ | ภูเดช แสนสา | 2556 |
ดาวน์โหลด: Lok Nah Lanna
ดาวน์โหลด: 350, ขนาด: 26.9 MB
|
|
8 | คร่าว กฎหมาย จารีต ตำนาน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ล้านนา | ภูเดช แสนสา | 2556 |
ดาวน์โหลด: Kraw
ดาวน์โหลด: 353, ขนาด: 11.5 MB
|
|
9 | รายชื่อคัมภีร์ใบลานและพับสาไทขึนเมืองเชียงตุง | ดิเรก อินจันทร์ | 2557 |
ดาวน์โหลด: Name List Keng Tung Pubsa Bailan 2557
ดาวน์โหลด: 314, ขนาด: 4.5 MB
|
|
15 | สัพพะตำรายาดีไทลื้อ-ไทขึน | ดิเรก อินจันทร์ | 2558 |
ดาวน์โหลด: The Tai Lu Tai Khun Pharmacopoeia
ดาวน์โหลด: 317, ขนาด: 6.6 MB
|
|
10 | รายชื่อคัมภีร์ใบลานและพับสา : อักษรธรรมล้านนาในภาคเหนือ (เล่ม 1) (2554-2558) | ดิเรก อินจันทร์ | 2559 |
ดาวน์โหลด: Dhamlanna Name List
ดาวน์โหลด: 314, ขนาด: 4.7 MB
|
|
11 | สรรพสาระจากใบลานและพับสาเมืองเมียวดี | ดิเรก อินจันทร์ | 2560 |
ดาวน์โหลด: Memorial Mewadee 2560
ดาวน์โหลด: 302, ขนาด: 3.0 MB
|
|
16 | อานิสงส์คัมภีร์ใบลาน | ดิเรก อินจันทร์ | 2560 |
ดาวน์โหลด: Anisamsa Palmleaf Manuscript
ดาวน์โหลด: 292, ขนาด: 8.8 MB
|
|
12 | คัมภีร์ใบลานในโลกดิจิทัล | ดิเรก อินจันทร์ | 2561 |
ดาวน์โหลด: Palmleave Manuscript Indigitalworld
ดาวน์โหลด: 275, ขนาด: 2.5 MB
|
|
13 | วรรณกรรมไทขึน : อะลอง-นาง | ดิเรก อินจันทร์ | 2561 |
ดาวน์โหลด: Khuen Literature Along Nang 2018isbn
ดาวน์โหลด: 322, ขนาด: 5.0 MB
|
|
14 | ปถมมูลลโลก ฉบับอภิไชขาวปี | ดิเรก อินจันทร์ | 2561 |
ดาวน์โหลด: Pathomlok
ดาวน์โหลด: 371, ขนาด: 43.5 MB
|
|
15 | สูตร มาตรา และการคำนวณคณิตศาสตร์ล้านนา | ดิเรก อินจันทร์ | 2562 |
ดาวน์โหลด: Mathematics Lanna
ดาวน์โหลด: 278, ขนาด: 38.4 MB
|
|
16 | แบบเรียนตัวเมืองล้านนา | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2563 |
ดาวน์โหลด: Textbook Lanna
ดาวน์โหลด: 418, ขนาด: 35.4 MB
|
|
17 | สัพพะตำราสล่าล้านนา | ดิเรก อินจันทร์ | 2563 |
ดาวน์โหลด: Sala Lanna
ดาวน์โหลด: 430, ขนาด: 14.3 MB
|
|
19 | พระยาแหลว สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาและวรรณกรรมล้านนา (อักษรธรรมล้านนา - อักษรไทย) | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2563 |
ดาวน์โหลด: Phayalaew Story
ดาวน์โหลด: 296, ขนาด: 5.1 MB
|
|
20 | นิทานล้านนา ฉบับอักษรธรรมล้านนา สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาและวรรณกรรมล้านนา (อักษรธรรมล้านนา) | ดิเรก อินจันทร์ | 2563 |
ดาวน์โหลด: Lannastory Verdhamlanna
ดาวน์โหลด: 344, ขนาด: 11.5 MB
|
|
21 | นิทานล้านนา ฉบับอักษรไทย สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาและวรรณกรรมล้านนา (อักษรไทย) | ดิเรก อินจันทร์ | 2563 |
ดาวน์โหลด: Lannastory Verthai
ดาวน์โหลด: 406, ขนาด: 14.1 MB
|
|
22 | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 89 ปี | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | 2555 |
ดาวน์โหลด: 89years Cmru
ดาวน์โหลด: 184, ขนาด: 25.7 MB
|
|
23 | แบบฝึกอ่านอักษรธัมม์ล้านนาสำหรับผู้เริ่มต้น (แจกไม้เล่ม ๑) | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2564 |
ดาวน์โหลด: Textbook Lanna Vowel 1
ดาวน์โหลด: 440, ขนาด: 50.0 MB
|
|
24 | ศาสนพิธีเบื้องต้น | โสภณ พรมจิตต์ | 2564 |
ดาวน์โหลด: Basic Ordinance
ดาวน์โหลด: 819, ขนาด: 61.5 MB
|
|
25 | CMRU-MM-CT-07-B-0038 ตำนานพระสิงห์หลวงเมืองเชียงใหม่ | สำนักศิลปะและวัฒนธรรม | 2564 |
ดาวน์โหลด: CMRU MM CT 07 B 0038
ดาวน์โหลด: 190, ขนาด: 33.4 MB
|
|
26 | หมากไหมในวิถีล้านนา | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2565 |
ดาวน์โหลด: Makmai Lanna
ดาวน์โหลด: 125, ขนาด: 60.6 MB
|
|
27 | สัพพะตำรา ดาราศาสตร์ กลุ่มชาติพันธุ์ไท | ดิเรก อินจันทร์ | 2565 |
ดาวน์โหลด: TAI ASTOLOGY BOOK 2022
ดาวน์โหลด: 263, ขนาด: 32.3 MB
|
|
28 | รวมบทความ : ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ของภาคเหนือตอนบน | อาจารย์จารุวรรณ เพ็งศิริ มหาวิทยาลัย | 2565 |
ดาวน์โหลด: AR5Ethnics Articles - suyjang-hooo - หน้าหนังสือ 1 - 66 | พลิก PDF ออนไลน์ | PubHTML5
ดาวน์โหลด: 159, ขนาด: 0
|
|
29 | หนังสือเรียนอักษรธัมม์ล้านนา สำหรับประกอบการบรรยายภาษาล้านนา | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2565 |
ดาวน์โหลด: Textbook Thamma Lanna Alphabet
ดาวน์โหลด: 819, ขนาด: 2.8 MB
|
|
30 | แบบฝึกอ่านอักษรธัมม์ล้านนา (แจกไม้ เล่ม 2) | ภวัต ณ สิงห์ทร | 2565 |
ดาวน์โหลด: Tham Lanna Reading Practice 2
ดาวน์โหลด: 173, ขนาด: 3.4 MB
|
|
31 | หนังสือรวมบทความด้านศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปี ๒๕๖๕ | ปนัดดา โตคำนุช | 2565 |
ดาวน์โหลด: หนังสือรวมบทความ 2565
ดาวน์โหลด: 141, ขนาด: 4 KB
|
|
31 | สัพพะตำราสัตว์กลุ่มชาติพันธุ์ไท | ดิเรก อินจันทร์ | 2565 |
ดาวน์โหลด: Tai Sappa Satta Book 2022
ดาวน์โหลด: 225, ขนาด: 6.2 MB
|
|
32 | สัพพะตำรามังคละและอวมังคละล้านนาในคัมภีร์ใบลานและพับสา | ดิเรก อินจันทร์ | 2566 |
ดาวน์โหลด: หนังสือสัพพะตำรามังคละและอวมังคละล้านนาในคัมภีร์ใบลานและพับสา
ดาวน์โหลด: 149, ขนาด: 2.9 KB
|
วารสารข่วงผญา
วารสารข่วงผญา The Journal of Thai Lanna Wisdom เป็นวารสารทางวิชาการรายปี (ปีละ 1 ฉบับ เดือนมกราคม ถึงเดือนกันยายน) มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ ความคิด ทัศนะ และนำเสนอข้อค้นจากการศึกษาและวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรม อาทิ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา สังคมวิทยาชาติพันธุ์วิทยา วัฒนธรรมศึกษา การจัดการทางวัฒนธรรม ศาสนา ภาษาและวรรณกรรม ดนตรีและการแสดง เป็นต้น ซึ่งบทความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ ที่ปรากฏในวารสารเล่มนี้ ได้ผ่านการกลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ โดยเนื้อหาที่ปรากฏในวารสาร ถือว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ทางบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้อง และไม่ถือเป็นความรับผิดชอบ
ลำดับ | ปก | ชื่อเรื่อง | ปีงบประมาณ | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
1 | ข่วงผญา ฉบับที่ 8 - รวมบทความล้านนาศึกษา ฉบับ 89 ปี ราชภัฏเชียงใหม่ | 2556 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 08
ดาวน์โหลด: 214, ขนาด: 6.8 MB
|
|
2 | ข่วงผญา : อุดมการณ์สานสร้างคนดี 90 ปี แห่งความภาคภูมิใจปีที่ 9 | 2557 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2557
ดาวน์โหลด: 220, ขนาด: 29.0 MB
|
|
3 | ข่วงผญา : ก้าวสู่ศตวรรษของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น | 2558 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2558
ดาวน์โหลด: 175, ขนาด: 3.2 MB
|
|
4 | ข่วงผญา : 7 ทศวรรษ กษัตราทรงครองไทย ราชภัฏเชียงใหม่ เทิดไท้ ปิ่นราชัน และ 4 ทศวรรษ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | 2559 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2559
ดาวน์โหลด: 149, ขนาด: 5.0 MB
|
|
5 | ข่วงผญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สืบสานองคต์ความรู้ของชุมชน | 2560 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2560
ดาวน์โหลด: 203, ขนาด: 4.1 MB
|
|
6 | ข่วงผญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สืบสานองคต์ความรู้ของชุมชน | 2561 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2561
ดาวน์โหลด: 333, ขนาด: 16.1 MB
|
|
7 | ข่วงผญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สืบสานองคต์ความรู้ของชุมชน | 2562 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2562
ดาวน์โหลด: 158, ขนาด: 25.2 MB
|
|
8 | ข่วงผญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สืบสานองคต์ความรู้ของชุมชน | 2563 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2563
ดาวน์โหลด: 80, ขนาด: 15.9 MB
|
|
9 | ข่วงผญา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สืบสานองคต์ความรู้ของชุมชน | 2564 |
ดาวน์โหลด: Kuang Pa Yha 2564
ดาวน์โหลด: 137, ขนาด: 6.1 MB
|
วารสารศิลปะและวัฒนธรรม
บทความ
โครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และสื่อสารสนเทศด้านภูมิปัญญา และวัฒนธรรมการใช้ประโยชน์จากพันธุ์ไม้ท้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (โครงการ อพ.สธ.)
FacebookFacebookXXLINELineโครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้แล […]
นิทรรศการ “วัฒนธรรมผ้าในพระพุทธศาสนาล้านนา” สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
FacebookFacebookXXLINELineนิทรรศการ “วัฒนธรรมผ้าใ […]
ความเป็นมาของเพลงชุดวิทยาลัยครูเชียงใหม่
“เทิดศักดิ์ รักของข้า สูงลอยเลิศฟ้า อากาศไทย” หนึ่งในเพลงชุด วิทยาลัยครูเชียงใหม่ ที่นักศึกษาวิทยาลัยครูเชียงใหม่ทุกคนจะต้องร้องเพลงนี้ได้ จากวันที่เริ่มก้าวเท้าเข้าสู่รั้ววิทยาลัยครู และเริ่มการต้อนรับน้องใหม่ สิ่งหนึ่งที่รุ่นพี่จะสอน เพื่อจะถ่ายทอดความเป็นวิทยาลัยครูจากพี่สู่น้อง คือ เพลงเทิดศักดิ์ จึงเสมือนเป็นเพลงประจำวิทยาลัยครูเชียงใหม่ ที่ทุกคนสามารถร้องเพลงจนจบ แต่ไม่ทราบถึงที่มาของเพลงนี้ ….จากคำบอกเล่าของพ่อครูวิเศษ บุญนนท์ เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๔ อดีตนักศึกษาวิทยาลัยครูเชียงใหม่ ป.กศ.สูง (พ.ศ.2510 – 2513) จึงทำให้ทราบถึงที่มาของเพลง ชุดวิทยาลัยครูเชียงใหม่ ดังนี้
ราชกกุธภัณฑ์ : เครื่องสูงเทียมยศ
นับแต่ครั้งโบราณกาลเครื่องประกอบพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ที่ขาดไปไม่ได้คือ “เครื่องราชกกุธภัณฑ์” เป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นเจ้าฟ้าราชาธิบดี มักปรากฏให้เห็นในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ และพระราชพิธีอื่น ๆ
ทางล้านนา “เครื่องราชราชกกุธภัณฑ์” หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เครื่องสูง” บางแห่งเรียกว่า “เครื่องเทียมยศ” มีบทบาทในพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
ชุพระธาตุตามคติชาวล้านนา
ตามคติความเชื่อความศรัทธาเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรืออำนาจวิเศษของวัตถุธาตุ มีความสัมพันธ์กับมนุษย์ทุกผู้ทุกนาม ทุกเชื้อชาติ จะมีศาสนายึดถือหรือไม่มีศาสนาก็ตาม เป็นเรื่องราวที่กล่าวขานกันมาเนิ่นนานแล้ว ซึ่งมีคติความเชื่อที่แตกต่างกันออกไป เช่น การนำเอาวัตถุธาตุตามธรรมชาติ กระดูก ไม้มงคล มาเป็นเครื่องลางติดตัว หรือ ตั้งไว้เป็นที่เคารพกราบไหว้ของตนเอง ครอบครัว ท้องถิ่น
ประเพณีทานข้าวใหม่และหลัวหิงไฟพระเจ้า
นับแต่อดีตกาล ชาวล้านนามีวิถีชีวิตที่ผูกพันธ์กับการประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม จนเรียกกันติดปากว่า “เยี๊ยะไร่ ใส่นา” โดยเฉพาะวัฒนธรรมเกี่ยวกับข้าวโดยมีความเชื่อมโยงกับความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เมื่อถึงวันเพ็ญเดือน ๔ เหนือ (ตรงกับเดือน ยี่ ของทางภาคกลาง คือช่วงเดือน มกราคม) อันเป็นฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว แล้วนำผลผลิตไปใส่หลองข้าว(ยุ้งฉาง)
ผางผะทีด
ผางผะทีด คือ ถ้วยประทีปหรือถ้วยเล็กๆ ที่ทำด้วยดินเผา รูปลักษณะแตกต่างกันตามฝีมือและศิลปะของช่างปั้นในแต่ละยุคสมัยซึ่งอาจใหญ่บ้าง เล็กบ้าง ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ในสมัยโบราณเวลามีงานประเพณีหรือเทศกาลต่างๆ ที่จัดในตอนตอนกลางคืนมักจะใช้ผางผะตีดจุดให้แสงสว่าง