Page 151 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 151
่
๊
่
ี
พ.ศ.๒๕๔๐ ได้มโอกาสฝากตัวเป็นศิษย์เพือศึกษารูปแบบฉันทลกษณ์และการประพันธ์บทคราวจอย
ั
๊
ิ
์
ิ
ื
้
่
ั
ั
้
ู
ั
จากพ่อครนนท์ นนท์ชัยศักด ครภูมปัญญาไทย นกค่าวจอยของจงหวัดลําพูน พรอมทังการทบทวนเรองของความรู ้
ู
ั
้
ด้านอักขรลานนา(ตัวเมือง) ซึงเคยมีความรพืนฐานมาก่อนแลวจากการเรยนในสมัยมัธยมศึกษา ให้มีความรูและ
ี
้
่
๋
้
้
ู
้
๊
่
้
ความชํานาญยงขึน เนืองจากการแตงบทประพันธ์คร่าวจอยมีรปแบบฉันทลักษณ์และการขับร้องแตกตางจาก
่
ู
่
่
ิ
็
ี
้
่
้
ึ
้
“ซอพืนเมือง” ในอกลักษณะหนง แต่กมีความโดดเดนและไพเราะไม่นอยไปกว่าการขับร้องเพลงซอพืนเมือง อีกทัง
่
้
การขับรองคราวจอยพืนบ้านล้านนาก็มีหลากหลายทวงทานอง จงไดตังใจศึกษาทงรปแบบการประพันธ์และ
ึ
๊
่
้
ู
้
ั
้
้
่
้
ํ
๊
่
์
ั
่
รูปแบบการขับรองคร่าวจอยในทํานองต่าง ๆ จนกระทังสามารถทําการประพนธบทคราวจ๊อย เรองราว และ
ื
่
้
้
ํ
ั
เนือหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง พร้อมทังสามารถขบร้องคร่าวจ๊อยทานองต่าง ๆ ได้ในเวลาต่อมา
้
์
้
ิ
้
ื
้
้
ั
ในส่วนของอกขระลานนานัน ภายหลังได้มีโอกาสฟนฟูและทบทวนองคความรูเดิมทีเคยเรยนมา เกดเป็น
่
ี
ั
ื
ึ
่
้
ึ
่
้
ื
ความชํานาญมากยิงขน และได้อาศยเป็นเครืองมอในการศกษาคนควา ด้านภาษาและวรรณกรรมพนบ้านล้านนา
้
้
จากเอกสารโบราณต่าง ๆ เชน ใบลาน พบสา จารึกต่าง ๆ ก่อให้เกิดคุณูปการในการนํามาใชประกอบการ
ั
้
่
่
ประพันธบทคราวซอพืนเมืองได้อยางดียง เนองจากไดนําภาษาล้านนาดังเดมจากเอกสาร ตํารา ต่าง ๆ ดังกลาว
ื
่
้
์
่
ิ
่
่
้
้
ิ
้
มาผสมผสานและประยุกต์เข้ากับภาษาสมยใหม่ ใหเกิดความร่วมสมัยและสือสารใหเกิดเข้าใจและซาบซง
ั
้
้
ึ
่
์
้
ิ
่
่
่
่
้
่
ั
่
้
ทงแกคนรุนเกาและรุนใหมได้อย่างลงตัว อีกทงยังเป็นการคงเอกลักษณของภาษาถนล้านนาไวได้อีกด้วย
ั
ี
นับตังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๘ จวบจนปัจจบัน เป็นเวลากวา ๒๕ ปี ทีนายขวัญชย สุรนทร์ศร ได้เรยนรู ้
ั
ุ
่
ิ
่
ี
้
ํ
่
้
่
จนมีความเชียวชาญและชานาญเป็นอยางยิง โดยเรมศึกษาการขับร้องเพลงซอพืนเมืองและศึกษารูปแบบ
่
่
ิ
การประพนธบทคร่าวซอพนเมืองตังแต่อายุ ๑๘ ปี (พ.ศ.๒๕๓๘)หลังจากมความรูพืนฐานในการขับรองเพลงซอ
ื
ี
้
ั
์
้
้
้
้
ู
่
ั
้
้
่
่
ื
ู
และรปแบบการประพนธบทคราวซอพนเมืองแล้ว อายุประมาณ ๒๐ ปี ก็ได้มีโอกาสเป็นผูชวยพอคร แม่ครู
์
ั
ู
้
ในการถ่ายทอดความรให้แก่ผูมาศึกษาเรยนรการขบร้องเพลงซอในลักษณะความรูพนฐานทีพอจะสามารถ
้
้
้
้
ู
ี
ื
่
่
้
่
ี
้
่
ช่วยถายทอดได้ จนกระทังเรียนจบเมออายุประมาณ ๒๓ ปี ไดเริมต้นการทางานทางดานวัฒนธรรมทีโฮงเฮยน
่
่
ํ
ื
ั
่
่
่
้
ู
ู
ุ
ิ
สืบสานภมิปัญญาลานนา จังหวัดเชียงใหม่ ซึงเป็นองค์กรทีสงเสรม สนบสนน การอนุรักษ์ สืบสาน ภมิปญญา
ั
้
้
ลานนาแขนงตาง ๆ ณ ทีแหงนี นายขวญชย ได้ชวยงานด้านการถ่ายทอดภูมิปญญาดานการขับรองเพลงซอ
่
้
่
่
ั
่
ั
ั
้
พืนบานล้านนา การเขียนและการอ่านอักษรธรรมล้านนา เป็นตน ซงโฮงเฮียนสืบสานภูมปัญญาล้านนาเปนสถานท ่ ี
็
้
่
้
้
ิ
ึ
้
ั
้
ี
่
่
่
้
ี
ทจัดการเรยนรูแบบทางเลือกนอกระบบ เป็นการเรียนรูตามอัธยาศย จึงเป็นสถานททีมกลุมผูสนใจเฉพาะด้าน
่
ี
ี
ู
เกียวกับภมิปัญญาล้านนาด้านต่าง ๆ
่
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 147