Page 35 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 35
แนวคิดในสร้ำงสรรค์ผลงำน
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน คือ ทางล้านนามีความเชื่อว่า นกหงส์ หรือนกหัสดีลิงค์
เป็นนกที่เป็นมงคลมีพละก าลังมาก เป็นพาหนะของผู้มีบุญญาธิการ มักน าไปประดิษฐานตามหลังคาโบสถ์วิหาร
ลายค า ถือว่าเป็นของอนเป็นมงคลยิ่งของชาวล้านนาเรา ดังนั้น จึงน าแนวคิดนี้มาสร้างสรรค์ผลงานโดยการน า
ั
ของเดิมมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ดูเข้ากับยุคสมัย ในสมัยก่อนนั้นช่างเขามักจะใช้เป็นปูนปั้น โดยได้ปรับเปลี่ยน
รูปแบบและใช้วัสดุดินเผาเคลือบด้วยน้ าเคลือบ เผาในอณหภูมิสูง ความทนทาน จึงผุกร่อนยาก คงทน และอยู่ได้
ุ
นานหลายชั่วอายุคน
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน คือ การน านกหงส์นกหัสดีลิงค์ไปใช้ในการตกแต่งนั้น
จะมีจ านวนมาก จึงต้องสร้างแม่พมพขึ้นมาก่อนแล้วใช้ดินเหนียวพเศษอดหรือทุบลงบนแม่พมพพอแห้งมาก็น ามา
ิ
์
ิ
ิ
์
ั
ิ
เชื่อมต่อกันด้วยเทคนิคพเศษ เพอไม่ให้เกิดรอย แตกร้าวเมื่อน าชิ้นงานมาประกอบติดปะต่อกันจนเป็นรูปร่างก็ใส่
ื่
รายละเอียดต่างๆ ตรวจเช็คความเรียบร้อย
ขั้นตอนและวิธีกำรผลิต
ื่
๑) น าผลงานเข้าเตาเผา เพอผ่านกระบวนการเผาครั้งแรกในอณหภูมิ ๙๕๐ องศาเซลเซียส
ุ
ระยะเวลาเผา ๑๒ ชั่วโมง
๒) จากนั้นก็น าไปชุบเคลือบด้วยน้ าเคลือบ ๒ สี ที่เตรียมไว้ส าหรับชิ้นงานชนิดนี้โดยเฉพาะ
๓) เรียบร้อยแล้วเข้าสู่กระบวนการเผาไฟสูง ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส ระยะเวลาเผา ๑๒ ชั่วโมง
๔) ออกจากเตาตรวจดูความเรียบร้อยเป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการขั้นสุดท้าย
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
คุณค่า ประโยชน์ และความส าคัญของผลงาน คือ คงทน แข็งแกร่งต่อดินฟ้าอากาศ ท าให้อยู่ได้นาน มี
ความแข็งแกร่งคงทน และความส าคัญของชิ้นงานนั้นขึ้นอยู่ที่ความเชื่อในความเป็นมงคลซึ่งปัจจุบันผลงานเหล่านี้
ได้ติดตั้งแสดงอยู่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ เช่น วัดบ้านเด่นสะหรีศรีเมืองแกน อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
วัดป่าดาราภิรมย์ อ าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ วัดเจดีย์สามแม่ครัว อ าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 31