Page 11 - หนังสือสัพพะตำรามังคละและอวมังคละล้านนาในคัมภีร์ใบลานและพับสา
P. 11

สัพพฯฯต ำรำมํฯคลฯฯแลฯอวมํฯคลฯฯล้ำนฯนาฯในคัมํีภฯร์ใบลำนฯแลฯพับฯฯสำ | ฌ





                                                            คำชี้แจง


                         เนื่องจากหนังสือเล่มนี้เป็นการนำเสนอภาพเอกสารที่เป็นคัมภีร์ใบลาน พับสา และกระดาษอื่นๆ จึงขอ

                  ชี้แจงวิธีการทำงานและวัตถุประสงค์ของการนำเสนอ ดังนี้

                                                                                                    ื่
                                                                                                          ่
                         ๑) ภาพต้นฉบับ ผู้เรียบเรียงได้เลือกเฉพาะเส่วนที่เนื้อความที่ต้องการนำเสนอปรากฏอยู่ เพอให้ผู้อาน
                  ได้เห็นสภาพต้นฉบับ ลักษณะอักษร และอักขรวิธี โดยใต้ภาพเอกสารแต่ละหัวข้อได้ระบุแหล่งที่มาของเอกสาร
                  โดยย่อ หากผู้สนใจอยากศึกษาเพิ่มเติม สามารถดูแหล่งที่มาโดยละเอียดได้ที่เอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม

                                                                                                        ั
                         ๒) การพิมพ์เนื้อความด้วยอักษรธรรมล้านนา ได้เลือกใช้แบบอกษร LN_CNRU90 ซึ่งเป็นแบบอกษรที่
                                                                            ั
                  ออกแบบและจัดทำโดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ส่วนการพิมพ์ด้วยอักษรไทลื้อ
                  หรือไทขึน ได้ใช้แบบอักษร LN_Wat Inda ที่ออกแบบและจัดทำโดยวัดอินทบุปผาราม เมืองเชียงตุง รัฐฉาน

                  สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยพิมพ์ตามเนื้อความที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับ แต่ปรับอักขรวิธีและเพม
                                                                                                           ิ่
                  เครื่องหมายวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการฝึกอ่านอักษรธรรมล้านนา หรืออักษรไท

                  ลื้อ-ไทขึน ที่อ่านง่ายกว่าอ่านจากเอกสารต้นฉบับ
                                                                                         ั
                         ๓) การปริวรรตอักษรจากอักษรธรรมล้านนาจะใช้วิธีการปริวรรตแแบบเทียบอกษรและปรับระบบอกข
                                                                                                          ั
                  รวิตามภาษาไทย คำบางคำที่น่าสนใจ หรือควรที่จะให้คำอธิบาย ได้เพิ่มไว้ในเชิงอรรถในแต่ละหน้าไว้

                         ๔) การแปลเนื้อความเป็นภาษาไทย จะเป็นการแปลแบบสรุปความ เพื่อให้ผู้อ่านที่ไม่สามารถอ่าน
                  อักษรธรรม หรืออักษรปริวรรตได้ สามารถอ่านและเข้าใจความหมายได้ถูกต้อง

























                   สั พ พ ะ ต ำ ร า มั ง ค ล ะ แ ล ะ อ ว มั ง ค ล ะ ล้ า น น า ใ น คั ม ภี ร์ ใ บ ล า น แ ล ะ พั บ ส า  | ฌ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16