Page 10 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 10

4  ๔



               บทน า

                       ในยุคโลกาภิวัตน์ได้นํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งจากสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศและ

                                                                                                      ิ
               ภายในประเทศ จึงจําเป็นที่จะต้องมีความพร้อมในการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้พการ
               มีความต้องการที่จะดําเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพแม้จะมีข้อจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรม
                                                                                                 ิ
                                                                     ุ
               ในชีวิตประจําวันและความบกพร่องทางร่างกายที่ทําให้เกิดอปสรรคในด้านต่าง ๆ แต่หากผู้พการได้รับ
                                                     ึ่
               การส่งเสริมและความช่วยเหลือให้สามารถพงตนเอง มีสวัสดิการ ความมั่นคงในชีวิต สามารถดํารงชีวิตได้
                     ิ
               อย่างอสระ มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ และความเสมอภาคเฉกเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป มีกิจกรรมร่วม
                                                                        ิ
               ทางสังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพภายใต้สภาพแวดล้อมที่ผู้พการสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้
               (เสมอ ขัดพล, 2559)
                       สวัสดิการสังคมมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ทุกคน เนื่องจากเป็นบริการ

                   ื้
                                                                      ื้
               ขั้นพนฐานที่จะช่วยให้มนุษย์สามารถตอบสนองความจําเป็นขั้นพนฐานที่จะนําไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้
               ประเทศไทยเห็นความสําคัญดังกล่าวจึงได้กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2550 และ

                                          ั
                                                            ิ
               พระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตผู้พการ พ.ศ. 2550 โดยกําหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการจัด
               สวัสดิการสังคมประเภทต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ให้กับประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งผู้ด้อยโอกาสที่ได้รับ

               ความเดือดร้อนด้วย (จริยาภรณ์ ปิตาทะสังข์, 2558)
                                                      ิ
                       การจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผู้พการนั้นปัจจุบันกําลังเผชิญกับความท้าทายไม่ว่าจะเป็น
                                                                   ิ
               การมีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายต่าง ๆ การที่คนพการไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการของรัฐ
               อนเนื่องมาจากการศึกษาน้อยและยากจน รวมทั้งการขาดซึ่งการรับรู้ข้อมูลข่าวสารหรือการเข้าถึงการบริการ
                 ั
                                                                    ั
               ของรัฐ ตลอดจนการจัดบริการสวัสดิการสังคม (ลฎาภา  พนธุโพธิ์, 2561) แม้ว่ารัฐจะออกมาตรการ
               ทางกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแต่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร เนื่องจากมาตรการเหล่านี้ไม่มีบทลงโทษสําหรับ

                                                                                       ู
                                                                           ี
                                                ั
               ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตาม (วิริยะ นามศิริพงศ์พนธุ์ และ จุไร ทัพวงษ์, 2554) อกทั้ง การฟนฟสมรรถภาพด้านอาชีพ
                                                                                    ื้
                                                                                                      ื่
                     ิ
               แก่ผู้พการของภาครัฐยังให้ความสําคัญกับการฝึกอาชีพในสถานฝึกอาชีพมากกว่าการบริการด้านอาชีพอน ๆ
               การขาดงบประมาณทางการแพทย์มีผลทําให้ผู้พการไม่ได้รับการตอบสนองต่อความต้องการเรื่องยาและ
                                                         ิ
               เวชภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผู้พการ ยิ่งไปกว่านั้นผู้พการยังได้รับการปฏิบัติโดยไม่คํานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
                                                       ิ
                                      ิ
               ถูกแบ่งแยก และไม่ได้รับความสะดวกในการเข้ารับบริการทางการแพทย์  (ธีระศักดิ์ พงษ์ไกรรุ่งเรือง, 2552)
               นอกจากนี้ ยังประสบกับปัญหาเกี่ยวกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผู้พการ เช่น
                                                                                                  ิ
                                                                                                       ั
               องค์การบริหารส่วนตําบลที่เน้นการจ่ายเงินสงเคราะห์เพอการยังชีพผู้พการแต่ขาดการประชาสัมพนธ์
                                                                  ื่
                                                                               ิ
               ให้ประชาชนได้รับรู้และรับทราบข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเป็นการปิดโอกาสสําหรับผู้พการไม่ให้เข้าถึงบริการ
                                                                                      ิ
               ด้านสวัสดิการสังคมจากภาครัฐอย่างทั่วถึง การส่งเสริมและสนับสนุนด้านการประกอบอาชีพยังไม่มี

               กระบวนการที่เป็นรูปธรรมแบบครบวงจร (ธีระศักดิ์ พงษ์ไกรรุ่งเรือง, 2552)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15