Page 29 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 29
แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
แนวคิดเกี่ยวกับก ารสร้างสรรค์ผลงาน คือ กระบวนการท าเครื่องปั้นดินเผานั้น มักจะมีการแตกหัก
ื่
เสียหายในระหว่างการเผาในอณหภูมิสูงถึง ดังนั้น ของที่แตกเสียหายเหล่านี้ย่อมต้องถูกคัดออกไปเพอจ าหน่ายใน
ุ
ราคาถูกหรือบางครั้งก็ต้องตัดใจโยนทิ้งเป็นเศษขยะผลงานชุดนี้เกิดจากแรงบันดาลใจที่ได้น างานเซรามิคชิ้นเล็ก
ชิ้นกลางที่ถูกคัดออกมาเพราะบิดเบี้ยว แตก หรือเหลือจากผลผลิต จึงเกิดความคิดที่จะน ามารวบรวม
ประดิดประดอย และเชื่อมกันจนเป็นประติมากรรมที่แปลกไปจากเดิมจากเดิม เป็นงานชิ้นใหญ่ที่มีหลากหลาย
อารมณ์อยู่ในนั้น จึงได้น าแนวคิดนี้มาสร้างสรรค์ผลงาน
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน คือ รวบรวมชิ้นงานขนาดเล็ก และกลาง โดยจัดแบ่ง
ื่
ประเภทไปในแต่ละกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะมีความหลากหลาย หลากสี ทั้งของเก่า และของใหม่ เพอจะได้เล่าเรื่องราว
ี
ปะติดปะต่อในตัวผลงาน เทคนิค คือ ต้องหาหม้อใบใหญ่ที่แตกร้าว ไม่สามารถน ามาเผาหรือเคลือบได้อก
โดยน ามาเป็นโครงสร้างภายใน แล้วน าของเล็กที่แตกเสียหายหรือบิดเบี้ยวมาเชื่อมต่อกันอย่างมีศิลปะ และสมดุล
โดยเชื่อมด้วยปูนผสมขึ้นมาเป็นพิเศษเพื่อไม่ให้หลุดหล่นร่อน
ขั้นตอนและวิธีกำรผลิต
๑) เตรียมโครงใหญ่ด้านในสุดชั้นแรก เช่นหม้อดินใบใหญ่ที่แตกร้าว ไม่สามารถน าไป
เคลือบไฟสูงได้ มาเป็นโครงสร้างภายใน
๒) เตรียมผสมปูนที่เหนียวเป็นพิเศษฉาบลงบนโครงสร้างก่อน
ิ
๓) จัดเรียงของเล็ก กลางอย่างมีระเบียบ และติดด้วยปูนซีเมนต์อย่างเหนียวพเศษ
เพื่อกันไม่ให้ชิ้นงานหลุดในเวลาเคลื่อนย้าย
๔) ตกแต่งผิวด้วยปูนซีเมนต์ตามรูปแบบที่ได้ก าหนดไว้
๕) ลงสีสันตามที่ได้จินตนาการ ด้วยสีอะคริลิค
ื่
๖) พ่นน้ ายาเคลือบ เพอกันไม่ให้สีและชิ้นงานหลุดร่อนในขณะขนย้าย
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
คุณค่า ประโยชน์ และความส าคัญของผลงาน คือ จากสิ่งที่ดูไร้ค่าไร้ราคา แต่กลับกลายเป็นสิ่งที่
ิ่
ดูแล้วมีคุณค่ามากและมูลค่าเพมขึ้นหลายเท่าตัว และสามารถตั้ง แขวน จัดโชว์ได้ในสถานที่เหมาะสม เช่น โรงแรม
หรือน าไปใช้ปรับเปลี่ยนเป็นอ่างน้ าพุก็ได้
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 25