Page 27 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 27
แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน คือ พระคเณศ ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ เป็นเทวดาใน
ศาสนาฮินดูที่ได้รับการเคารพบูชาอย่างแพร่หลาย และการบูชาพระคเณศยังพบในพทธและไชนะด้วย พระลักษณะ
ุ
ุ
ื่
ที่โดดเด่นจากเทพองค์อน ๆ คือพระเศียรเป็นช้างเป็นที่เคารพกันโดยทั่วไปในฐานะของเทพเจ้าผู้ขจัดอปสรรคองค์
อุปถัมภ์แห่งศิลปวิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ทั้งปวง และทรงเป็นเทพเจ้าแห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญา
ิ
ในฐานะที่พระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้น ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพธีการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็จะ
เปล่งพระนามพระองค์ก่อนเสมอ ๆ นอกจากนี้เป็นที่เคารพนับถือของ ศาสตร์ในด้านศิลปิน และศิลปะต่างๆ สังเกต
ั
ได้จากในพธีต่างๆ จะมีการอญเชิญพระพฆเนศ มาร่วมเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่คอยประสิทธิ์ประศาสตร์พรให้กับผู้ร่วม
ิ
ิ
ื่
พธีอกด้วย จึงเกิดแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน ที่จะวาดองค์ท่านด้วย สีน้ า ลงบนกระดาษ เพอเป็น
ี
ิ
ต้นแบบในอนาคตสามารถน าไปต่อยอดลงบนจากกระเบื้องดินเผาได้ จึงได้น าแนวคิดนี้มาสร้างสรรค์ผลงาน
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน คือ วาดทรงพระพฆเนศในจินตนาการของตนเองนั้น
ิ
บางส่วนก็ได้จากการนั่งสมาธิก็จะเกิดความรู้สึกต่างๆ ในที่เกิดจากภาพในจินตนาการของตนเอง แล้วดึงสิ่งนั้น
ออกมาจากนามธรรมเข้าสู่รูปธรรมจนเป็นภาพวาดออกมา
ขั้นตอนและวิธีกำรผลิต
๑) ร่างรูปจากจินตนาการที่เราได้นึกคิดไว้
๒) เริ่มลงสีพื้นลงบนกระดาษ (อาร์เช่ห์) ความหนา ๓๐๐ แกรม
๓) ใส่แสงเงา
่
๔) วิธีการวาดนั้นใช้เทคนิคการวาด แบบใช้จุดในการให้สีให้แสงเงา จากสีออนไปจนถึง
สีเข้ม ตามที่ต้องการ
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
ื่
คุณค่า ประโยชน์ และความส าคัญของผลงาน คือ เริ่มต้นจากสีน้ า จะเป็นงานต้นแบบเพอน าไป
ี
พฒนาต่อยอดในการไปใช้ในงานเครื่องปั้นดินเผาในรูปแบบต่าง ๆ อกครั้งหนึ่ง ความส าคัญของงานนี้ จะให้ทั้ง
ั
ความงดงามและมีคุณค่าทางจิตใจ ส่งเสริมความเป็นมงคลแก่ผู้ที่ได้พบเห็น และได้ครอบครองเป็นเจ้าของ
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 23