Page 23 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 23
แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน คือ หม้อ โอง และอาง เป็นภาชนะสามารถปั้นออกมาได้
่
่
ในหลายรูปแบบ และตามประโยชน์ของการใช้งานแล้วน ามาผูกโยงกับความเป็นล้านนา โดยได้เขียนวาดลายไทย
เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมทางเหนือล้านนา ที่เกี่ยวข้องกับการไปมาหาสู่กัน มีการเออเฟออาทรช่วยเหลือซึ่งกัน
ื้
ื้
ี่
และกันนับถือกันเป็นแบบพเป็นน้อง ใครมาเยี่ยมเยียนถึงเรือนชาน ก็จะต้อนรับขับสู้เป็นอย่างดี จึงมีแนวคิด
ที่จะสื่อสารให้อนุชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ จึงได้น าแนวคิดนี้มาสร้างสรรค์ผลงาน
เทคนิคและวิธีกำรในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
่
่
เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานการปั้นหม้อ โอง อาง โถ คือ ส่วนใหญ่จะขึ้นรูปด้วย
ั
แป้นหมุน ดังนั้นการเตรียมดิน จึงต้องเป็นสูตรดินด าเหนียวต่อดินขาวจากล าปาง ในอตราส่วน ๖ ต่อ ๔ จึงจะ
สามารถปั้นขึ้นรูปให้ทรงตัวได้
ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
๑) เริ่มต้นด้วยการขึ้นปั้นรูปจากแป้นหมุน ๒ ถึง ๓ ชิ้น แล้วน ามาต่อเชื่อมกันขึ้นไปทีละขั้น
ู
๒) เริ่มน าไปขดแต่งผิว เพื่อให้มีความราบเรียบส าหรับการวาด
๓) เมื่อผึ่งให้ดินแห้งสนิท และน าเข้าเตาเผาครั้งที่หนึ่ง ในอณหภูมิ ๙๕๐ องศาเซลเซียส
ุ
ในระยะเวลาประมาณ ๑๐ ถึง ๑๒ ชั่วโมง
๔) น ามาเขียนลวดลายด้วยสีใต้เคลือบที่ใช้เฉพาะงานทางด้านเซรามิคเท่านั้น
๕) น าไปชุบ หรือ พ่นเคลือบใส แล้วน าเข้าเตาเผาครั้งที่ ๒ ด้วยการเผาในอุณหภูมิ
๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส
๖) ขั้นตอนสุดท้ายน าออกจากเตาเผาแล้วน าไปตกแต่งให้ดูเรียบร้อยเป็นการเสร็จสิ้น
กระบวนการ
๗.๒.๑.๕ คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
คุณค่า ประโยชน์ และความส าคัญของผลงานของผลงาน คือ มีคุณค่าทั้งในด้านศิลปะและ
ในด้านการถ่ายทอดประเพณีวัฒนธรรมของชาวล้านนาเพอเผยแพร่ให้อนุชนรุ่นหลังต่อไปได้เห็นและเรียนรู้
ื่
วิถีเก่าแก่ของปทัสถานบรรพบุรุษ และสามารถน าเอา ไปเป็นประโยชน์ในการตกแต่งตามโรงแรม บ้านเรือน และ
การสะสมชิ้นงานด้วย
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 19