Page 19 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 19
แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ิ
คชสิงห์หรือ คชสีห์ เป็นสัตว์พนธุ์ผสมในเทพปกรณัมฮนดู ซึ่งปรากฏเป็น สิงห์หรือราชสีห์ที่มีหัวหรือ
ั
ิ
งวงช้าง มีการใช้สัตว์ชนิดนี้เป็นลวดลายในศิลปะอนเดียและสิงหล และใช้เป็นเครื่องหมายประจ าตระกูลในเอเชีย
ู
ตะวันออกเฉียงใต้บางประเทศ โดยเฉพาะประเทศกัมพชาและประเทศไทย ในประเทศสยาม คชสีห์ ถือเป็น
สัญลักษณ์ของกลาโหม ยังปรากฎเป็นเครื่องค้ าในตราแผ่นดินของสยามตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๗๓ ถึง ๑๙๑๐ และ
ในตราแผ่นดินของกัมพูชามาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๙๓ จึงเป็นที่มาของแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้
เทคนิคและวิธีกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เทคนิคและวิธีใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน ในการปั้นคชสิงค์จะต้องมีการเตรียมดินที่มีโครงสร้าง
ที่แข็งแรง เพราะการขึ้นโครงร่างปั้นเป็นไปตามแนวขวาง และเหมาะกับการทรงตัว ถ้าดินออนนุ่มเกินไปจะท าให้
่
ทรงตัวไม่ได้ และล้มลง ดังนั้น สูตรดินที่ใช้จึงต้องเป็นสูตรดินด าเหนียวต่อดินขาวจากล าปาง ในอัตราส่วน ๑ ต่อ ๑
ุ
จึงจะมีคุณสมบัติในการทรงตัวได้ดีและสามารถทนไฟในอณหภูมิ ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส โดยไม่แตกช ารุด
ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
๑) ขึ้นโครงรูปร่างทั้งหมด เริ่มจากขากับล าตัว ด้วยดินที่เตรียมมา
๒) ลงรายละเอียดหน้าตา ขา ตามรูปทรงที่ได้ขึ้นไว้
๓) ลงรายละเอียดเครื่องประดับต่างๆ ตามแบบที่ได้ออกแบบไว้
๔) น าเข้าเตาเผาสุกครั้งแรก ในอณหภูมิ ๙๕๐ องศาเซลเซียส ในระยะเวลาประมาณ
ุ
๑๒ ชั่วโมง
๕) น าไปตรวจเช็คความสมบูรณ์ของชิ้นงาน
๖) น าไปพ่น ชุบ หรือทาน้ าเคลือบตามสีสันที่ได้เตรียมไว้แล้วตกแต่งให้เรียบร้อย
๗) น าเข้าเตาเผาครั้งที่ ๒ ด้วยการเผาที่อณหภูมิ ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส ในระยะเวลา
ุ
ประมาณ ๑๒ ชั่วโมง
๘) ขั้นตอนสุดท้ายน าออกจากเตาเผาแล้วน าไปตกแต่งให้เรียบร้อยเป็นการเสร็จสิ้น
กระบวนการ
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
ผลงานชิ้นเป็นผลงานที่มีคุณค่าทางจิตใจ และจิตวิญญาณของความเป็นไทยที่นับถือกันมาจาก
บรรพบุรุษอย่างยาวนานและสืบเนื่อง รวมถึงเป็นการเสริมสร้างก าลังใจ และความเป็นมงคลเป็นอย่างยิ่ง
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 15