Page 17 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 17
แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เกิดจากการที่สถาบันการศึกษาและศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ของประเทศ ได้ยกย่องพระพฆเนศ
ิ
เป็นเทพเจ้าบรมครูแห่งศิลปะและเทพเจ้าแห่งความส าเร็จ ท าให้ผู้คนหลากหลายอาชีพ ให้ความเคารพ นับถือ
ื่
ิ
และศรัทธา กราบไหว้องค์พระพฆเนศ เพอขอพรจากองค์พระพฆเนศให้ส าเร็จผลตามที่ตนบูชาและมุ่งหวังไว้
ิ
ุ
ิ
จึงท าให้ นายอทัยย์ กาญจนคูมา เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์องค์พระพฆเนศ โดยใส่จิตวิญญาณ
เข้าไปในองค์ท่าน เพื่อให้มีพลังชีวิตและจิตวิญญาณเสมือนหนึ่งมีชีวิตอยู่จริง
เทคนิคและวิธีกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ิ
การที่จะสร้างสรรค์ผลงานพระพฆเนศนั้น ต้องมีเทคนิคในการเตรียมปรุงดินขึ้นเป็นพเศษ เพราะ
ิ
ี
องค์พระพฆเนศนั้นจะมีเครื่องประดับตกแต่ง โดยจะต้องติดประดับด้วยสร้อยสังวาล และรายละเอยดอนอกมาก
ี
ิ
ื่
ั
ดังนั้น สูตรดินจึงต้องประกอบด้วย: ดินด าเหนียวต่อดินขาวจากล าปาง ในอตราส่วน ๘ ต่อ ๒ ซึ่งมีคุณสมบัติ
ุ
ที่นิ่ม เหนียว และขึ้นรูปได้ง่าย ที่ส าคัญต้องสามารถทนไฟได้ในอณหภูมิ ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส และทนทาน
ต่อการแตกหักช ารุด ดังนั้น เทคนิคในการเตรียมดินจึงมีส าคัญมาก
ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
๑) การขึ้นโครงด้วยดินที่เตรียมปรุงขึ้นมาเป็นพิเศษ
๒) เริ่มลงรายละเอียดโดยเริ่มจากฐานล่างขึ้นไปด้านบน เช่น เท้า แขน ขา ใบหน้า ฯ
๓) เมื่อดินแห้งแล้ว เริ่มลงรายละเอียดด้วยการติดเครื่องประดับต่างๆ
ุ
๔) ที่ให้ดินแห้ง และน าเข้าเตาเผาครั้งที่หนึ่ง ในอณหภูมิ ๙๕๐ องศาเซลเซียส
ในระยะเวลาประมาณ ๑๒ ชั่วโมง
๕) น าไปชุบน้ าเคลือบที่ได้เตรียมไว้แล้ว
๖) น าเข้าเตาเผาครั้งที่ ๒ ด้วยการเผาในอุณหภูมิ ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส
๗) ขั้นตอนสุดท้ายน าออกจากเตาเผาแล้วน าไปตกแต่งให้ดูเรียบร้อยเป็นการเสร็จสิ้น
กระบวนการ
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
ผลงานชิ้นนี้มีคุณค่าทางจิตใจ และจิตวิญญาณของความเป็นไทยที่นับถือกันมาจากบรรพบุรุษ
อันสืบเนื่องมาอย่างยาวนาน รวมถึงเป็นการเสริมสร้างก าลังใจและความเป็นมงคลเป็นอย่างยิ่ง
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 13