Page 21 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 21

แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
                                                                                                         ุ
                           พญานาค หรือ นาค มีรูปร่างลักษณะเป็นงูใหญ่ ที่มีหงอน ซึ่งจะสื่อถึงความยิ่งใหญ่ มีความอดม-
               สมบูรณ์ มีวาสนา และเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสายรุ้งสู่จักรวาล ซึ่งแต่ละภูมิภาคจะมีความเชื่อที่แตกต่างกัน

               สีทองและตาสีแดง มีเกล็ดที่ลักษณะเหมือนปลามีหลากสี แตกต่างกันไปตามบารมี บ้างสีเขียว บ้างสีด า

               และอาจจะมี 7 สี เหมือนสีของรุ้ง พญานาคที่เป็นตระกูลธรรมดาจะมีลักษณะ คือ มีเศียรเดียว แต่หากเป็นตระกูล
               ที่สูงกว่าตระกูลธรรมดานั้นจะมีสามเศียร ห้าเศียร เจ็ดเศียร หรือเก้าเศียร พวกนี้จะสืบเชื้อสายมาจากพญา

               เศษนาคราช (อนันตนาคราช) ผู้เป็นบัลลังก์ของพระวิษณุนารายณ์ปรมนาท ณ เกษียรสมุทร อนันตนาคราช
               โดยมีความเชื่อว่า พญานาคจะแปลงร่างเป็นมนุษย์รูปร่างสวยงามได้  จึงเป็นที่มาของแนวคิดในการสร้างสรรค์

               ผลงาน


                           เทคนิคและวิธีกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
                           พญานาคมีสัดส่วนล าตัวที่มีลักษณะเลื้อย คดเลี้ยวไปมา ดังนั้น ดินที่จะน ามาใช้ในการปั้นขึ้นรูป

               ต้องมีลักษณะที่ออน เหนียว และมีความนุ่มนวลเป็นพเศษ จึงต้องเป็นสูตรดินด าเหนียวต่อดินขาวจากล าปาง
                                                              ิ
                              ่
               ในอัตราส่วน ๗ ต่อ ๓ เพราะต้องการความยืดหยุ่นที่จะสามารถดัดล าตัวได้ตามที่ต้องการ

                           ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน

                                  ๑) เริ่มจากการเริ่มขดดินไปตามลักษณะที่เราได้ก าหนดไว้

                                  ๒) เมื่อดินเริ่มเข็งตัวพอหมาดๆ ก็เริ่มลงรายละเอียดด้วยการเติมเกล็ด และรายละเอียดอื่น ๆ
                                  ๓) ใส่รายละเอียดของเศียรพญานาค
                                                               ุ
                                  ๔) น าเข้าเตาเผาสุกครั้งแรก ในอณหภูมิ ๙๕๐ องศาเซลเซียส ในระยะเวลาประมาณ
               ๑๐ ชั่วโมง
                                  ๕) น าไปพ่น ชุบ หรือทาน้ าเคลือบตามทได้เตรียมไว้แล้วตกแต่งเคลือบให้เรียบร้อย
                                                                   ี่
                                                                      ุ
                                  ๖) น าเข้าเตาเผาครั้งที่ ๒ ด้วยการเผาที่อณหภูมิ ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส ในระยะเวลา
               ประมาณ ๑๐ ชั่วโมง

                                  ๗) น าออกจากเตาเผาแล้วน าไปตกแต่งให้เรียบร้อยเป็นการเสร็จสิ้นกระบวนการ

                           คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
                           ผลงานชิ้นนี้มีคุณค่าทางจิตใจ และจิตวิญญาณของความเป็นไทยที่นับถือกันมาจากบรรพบุรุษ

               อันสืบเนื่องมาอย่างยาวนาน รวมถึงเป็นการเสริมสร้างก าลังใจ และความเป็นมงคลเป็นอย่างยิ่ง










                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   17
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26