Page 14 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 14
ประวัติกำรศึกษำ
ระดับชั้นประถมศกษาปีที่ ๑ – ๔ พ.ศ. ๒๕๐๓ โรงเรียนเทศบาลประตูลี้ อ าเภอเมือง จังหวัดล าพูน
ึ
ระดับชั้นประถมศกษาปีที่ ๕ – ๗ พ.ศ. ๒๕๐๖ โรงเรียนมงคลวิทยา อ าเภอเมือง จังหวัดล าพูน
ึ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.๓) พ.ศ. ๒๕๐๙ โรงเรียนจักรค าคณาทร อ าเภอเมือง จังหวัดล าพูน
ประวัติกำรท ำงำน
พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๑๐ ประกอบธุรกิจส่วนตัว
พ.ศ. ๒๕๓๓ – ปัจจุบัน เจ้าของกิจการ หจก.ชวนหลง เซรามิค จังหวัดล าพูน
ประวัติกำรเรียนรู้ ทักษะ และเทคนิคในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ุ
นายอทัยย์ กาญจนคูหา ได้เริ่มต้นเข้ามาเกี่ยวข้องเครื่องปั้นดินเผา ตอนอายุได้ ๔๐ ปี โดยไม่มีความรู้
เกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผา ทั้งในเรื่องของดิน สูตรเคลือบ การปั้นขึ้นรูปต่างๆ ไม่ว่าทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม
แต่อาศัยด้วยใจรัก ขาดเพยงความรู้ จึงท าให้ก้าวแรกที่เข้ามาสู่วงการเซมามิคยุ่งยากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทร
ี
เพราะไม่สามารถเข้าไปเรียนรู้หรือค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ได้เช่นในปัจจุบัน ประกอบกับหนังสือและต ารา
ในขณะนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นภาษาต่างประเทศ รวมถึงสูตรเคลือบต่าง ๆ จะเป็นความลับของแต่ละโรงงาน จึงท าให้
นายอุทัยย์ กาญจนคูหา ต้องดิ้นรนไขว่คว้าหาความรู้ ด้วยการศึกษาจากผู้รู้ในสถาบันการศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่
สนใจเข้าไปเรียนรู้ โดยในช่วงแรก นายอทัยย์ ได้ทดลองผิดลองถูกอยู่เป็นเวลานานถึง ๕ ปี และได้พบหนังสือ
ุ
เล่มหนึ่ง ซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาน้ าเงินขาวของจีน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่องถ้วยในยุคของ
ราชวงค์หยวน ราชวงค์หมิง ราชวงค์ชิง จึงท าให้ นายอทัยย์ หวนความคิดถึงเครื่องถ้วยของไทยโบราณ อาทิเช่น
ุ
เครื่องถ้วยจากเตาสังคโลก เครื่องถ้วยจากเตาเวียงกาหลง และจากแหล่งต่าง ๆ ที่มีชื่อเสียงในประเทศ
จากเรื่องราวเหล่านี้ เป็นแรงบันดาลใจให้ นายอทัยย์ จุดประกายแห่งการศึกษาอย่างจริงจังด้วยการศึกษา
ุ
จากหนังสือและต าราที่มีอยู่ในขณะนั้น รวมถึงการศึกษาทรวดทรงของภาชนะที่จะน าไปใช้ประโยชน์ได้ต่างกัน
ตลอดจนความเป็นมาของเรื่องราวและลวดลายที่วาดลงบนภาชนะ เช่น ลายดอกไม้ ลายเครือเถา ลายปลา
ุ
และสัตว์ต่าง ๆ จากนั้น นายอทัย ได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของน้ ายาเคลือบโบราณ การที่ได้เข้าไปหาประสบการณ์
กับผู้รู้ จึงท าให้ทราบว่าวัตถุที่ส าคัญที่จะเอามาผสมเป็นน้ ายาเคลือบนั้น ต้องเป็นขี้เถ้าไม้ และขี้เถ้าไม้นั้นต้องได้
มาจากการเผาไม้รกฟาหรือไม้ก่อตาหมู จึงท าให้สีของเคลือบที่ผ่านการเผาออกมาแล้ว เป็นสีเขียวเหมือนสีหยก
้
ื่
ดังนั้น เมื่อ นายอทัยย์ ได้รู้เรื่องสูตรเคลือบพอสมควร จึงได้ลงมือปฏิบัติการเพอทดลองเรื่อยมาตลอดระยะเวลา
ุ
ี
ุ
๕ ปี สุดท้ายก็ได้สูตรที่นิ่งและเสถียรขึ้นจนเป็นที่น่าพอใจ แต่อกใจหนึ่ง นายอทัยย์ ยังคงคิดเป็นห่วงและกังวล
เกี่ยวกับเรื่องขี้เถ้าที่ต้องแลกด้วยการเข้าไปเผาไม้ท าลายป่า ซึ่งดูแล้วไม่คุ้มค่าและน่าเป็นห่วง จากความกังวล
ื้
ุ
ในเรื่องดังกล่าว ท าให้ นายอทัยย์ ได้น าเอาเศษไม้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพนที่มาเผาแล้วน าเอาขี้เถ้าเหล่านั้น
10 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565