Page 11 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 11

ค ำประกำศเกียรติคุณ

                                                  นำยอุทัยย์   กำญจนคูหำ


                                   เพชรรำชภัฏ – เพชรล้ำนนำ สำขำศิลปะ ด้ำนหัตถกรรม


                              นำยอทัยย์   กำญจนคูหำ  ปัจจุบันอายุ ๗๒ ปี เกิดเมื่อวันที่ ๑๐ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓
                                   ุ
               ณ อ าเภอเมือง จังหวัดล าพูน สมรสกับนางอ าไพ  กาญจนคูหา  มีบุตร ๒ คน ธิดา ๑ คน

                                  ุ
                                   นายอทัยย์  กาญจนคูหา เข้าสู่วงการเซรามิค เมื่ออายุได้ ๔๐ ปี โดยไม่มีความรู้เกี่ยวกับ
               เครื่องปั้นดินเผา ทั้งในเรื่องของดิน สูตรเคลือบ การปั้นขึ้นรูปต่างๆ ไม่ว่าทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม

                   ี
               มีเพยงใจรัก จึงท าให้ก้าวแรกมีความยุ่งยากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทร เพราะไม่สามารถเข้าไปเรียนรู้หรือค้นคว้า
               ข้อมูลจากแหล่งความรู้ได้เช่นในปัจจุบัน   ประกอบกับหนังสือและต าราในขณะนั้นส่วนใหญ่จะเป็น
               ภาษาต่างประเทศ รวมถึงสูตรเคลือบต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นความลับของแต่ละโรงงาน จึงท าให้นายอทัยย์  กาญจนคูหา
                                                                                              ุ
               ต้องเรียนรู้ด้วยการศึกษาจากผู้รู้ในสถาบันการศึกษา และการทดลองท าในลักษณะการลองผิดลองถูก ต่อมา
                             ่
                    ุ
               นายอทัยย์  ได้อานหนังสือเครื่องปั้นดินเผาน้ าเงินขาวของจีน ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่องถ้วยในราชวงศ์ต่าง ๆ
                          ุ
               ท าให้ นายอทัยย์ หวนคิดถึงถึงเครื่องถ้วยของไทยโบราณ จากจุดนี้เองได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้ นายอทัยย์
                                                                                                         ุ
               ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของน้ ายาเคลือบโบราณอย่างจริงจัง พบว่า วัตถุส าคัญที่จะเอามาผสมเป็นน้ ายาเคลือบนั้น
               จะต้องเป็นขี้เถ้าไม้ และขี้เถ้าไม้นั้นจะต้องได้มาจากการเผาไม้รกฟาหรือไม้ก่อตาหมู จึงท าให้ได้ของสีน้ ายาเคลือบ
                                                                      ้
               เป็นสีเขียวเหมือนสีหยก ซึ่งกว่าจะได้สูตรน้ ายาเคลือบที่เสถียร นายอุทัยย์ ต้องใช้เวลาในการทดลองเพื่อพัฒนาสูตร

               เป็นเวลากว่า ๕ ปี แต่เนื่องจากขี้เถ้าไม้ซึ่งเป็นส่วนประกอบส าคัญของสูตรน้ ายาเคลือบดังกล่าว ต้องแลกมาด้วย
               การตัดไม้ท าลายป่า ดังนั้น นายอทัยย์ จึงได้น าเอาเศษไม้ต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุในท้องถิ่นมาเผาแล้วน าเอาขี้เถ้า
                                            ุ
                                                                                       ้
               มาทดลองเป็นส่วนผสมในสูตรน้ ายาเคลือบ พบว่า ขี้เถ้าที่สามารถน ามาทดแทนไม้รกฟาหรือไม้ก่อตาหมูได้ดีที่สุด
               คือ “ขี้เถ้าจากไม้ล าไย”













                                                                    เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   7
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16