Page 6 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 6
ค ำน ำ
หนังสือ “เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา พุทธศักราช ๒๕๖๕” เป็นการรวบรวมประวัติและผลงาน
ื่
ของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการคัดเลือกเป็น เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เพอเผยแพร่ผลงานให้สังคม
ได้ประจักษ์ และรับรู้อย่างกว้างขวาง ทั้งนี้ ส านักศิลปะและวัฒนธรรม ได้ด าเนินโครงการ “เพชรราชภัฏ –
ุ
เพชรล้านนา” มาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ ปีพทธศักราช ๒๕๔๕ ด้วยเห็นความส าคัญของทรัพยากรบุคคล
โดยเฉพาะภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน
ุ
ด้วยการส่งต่อองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่อง โดยในปีพทธศักราช ๒๕๖๕ มีผู้ได้รับการคัดเลือกเป็น
เพชรราชภัฏ – เพขรล้านนา จ านวน ๕ ท่าน ดังนี้
๑. นายอุทัยย์ กาญจนคูหา สาขาศิลปะ ด้านหัตถกรรม
๒. นายอัญเชิญ โกฎแก้ว สาขาศิลปะ ด้านทัศนศิลป์ (ประติมากรรม)
๓. นายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
๔. นายขวัญชัย สุรินทร์ศรี สาขาศิลปะ
ด้านการแสดงคร่าว จ๊อย และเพลงซอพื้นเมือง
๕. นายภูเดช แสนสา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ส านักศิลปะและวัฒนธรรม ตระหนักในคุณค่าดังกล่าว จึงได้จัดท าหนังสือ เพชราชภัฏ -
เพชรล้านนา พุทธศักราช ๒๕๖๕ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สืบสาน และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม หวัง
เป็นอย่างว่าชีวประวัติและผลงานของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนาทุกท่าน จะน าไปสู่การสร้างแรงบันดาลใจ ใน
การสร้างสรรค์ และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและองค์ความรู้ของชุมชนจากรุ่นสู่รุ่นสืบไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชานาฏ สิตานุรักษ์)
ผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม
2 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565