Page 5 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 5

ค ำนิยม



                                                                                         ุ
                              การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นงานที่อาศัยเวลาและความวิริยะอตสาหะอย่างยิ่งในการ
               ด าเนินงาน โดยเฉพาะการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชนในการรักษาไว้ซึ่งมรดก

                                                                      ั
                                                              ื้
                                                                ู
               ทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นและชาติ ด้วยการอนุรักษ์ ฟนฟ และพฒนาสร้างสรรค์ ในการสร้างคุณค่าและมูลค่า
                                                                                                        ่
                                                                                                     ุ
               ให้กับศิลปวัฒนธรรม  ดังนั้น เพื่อเป็นสนับสนุน เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคณคาของ
                                                                ุ
               ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในฐานะสถาบันอดมศึกษาเพอท้องถิ่นที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้ถึงพร้อมด้วย
                                                                          ื่
               ปัญญาและคุณธรรม เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความภาคภูมิใจและจิตส านึก  ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
               สิ่งแวดล้อมของชาติ ตลอดจนเชิดชู และสืบสานภูมิปัญญาของท้องถิ่น ด้วยการคัดเลือกปราชญ์ชาวบ้าน

               ครูภูมิปัญญาฯ ซึ่งเป็นรากแก้วของชุมชนในการรักษาไว้ซึ่งมรดกของท้องถิ่น ได้มีก าลังใจในการสร้างสรรค์ผลงาน

                                     ุ
               ซึ่งได้ด าเนินการตั้งแต่ปีพทธศักราช ๒๕๔๕ จวบจนปัจจุบัน เป็นเวลากว่า ๒๐ ปี ของการสืบสานองค์ความรู้
                                                                                                    ุ
               ของท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และจัดท าหนังสือ เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา พทธศักราช
                                                                                       ุ
                        ื่
               ๒๕๖๕ เพอเผยแพร่ชีวประวัติและผลงานของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ประจ าปีพทธศักราช ๒๕๖๕ ที่ได้รับ
               การประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จ านวน ๕ ท่าน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ
               เพชรราชภัฎ – เพชรล้านนา ฉบับนี้ จะเป็นส่วนส าคัญในการสร้างแรงบันดาลใจ และแรงผลักดันให้ทุกส่วน

               ในสังคมร่วมมือกันส่งเสริม สืบสาน และสร้างสรรค์องค์ความรู้ของชุมชน ตลอดจนเป็นแหล่งความรู้เบื้องต้น

               ในการศึกษา และขยายผลไปสู่การเรียนรู้เพื่อสืบสานองค์ความรู้ของท้องถิ่นต่อไป




                                                                       (รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี   มณีโกศล)

                                                                                                       รักษาราชการแทน

                                                                                               อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


















                                                                    เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10