Page 15 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 15

้
               มาทดลองเป็นส่วนผสมในสูตรเคลือบ สุดท้ายได้ผลออกมาว่าขี้เถ้าที่น ามาทดแทนไม้รกฟาและไม้ก่อตาหมู
               ได้ดีที่สุดคือ “ขี้เถ้าจากไม้ล าไย” ซึ่งเป็นไม้ผลที่มีอยู่มากมายในภาคเหนือ จึงท าให้ความกังวลเกี่ยวกับการที่จะต้อง

               ไปเผาไม้ท าลายป่าก็หมดสิ้นไป รวมถึงเป็นการน าวัตถุดิบในชุมชนมาใช้
                                      ุ
                           นอกจากนี้ นายอทัยย์ กาญจนคูหา ชอบที่จะท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงการถ่ายรูปในสถานที่
               ท่องเที่ยวนั้น ๆ จึงท าให้ นายอุทัยย์ มีภาพสวย ๆ และแปลกตาสะสมไว้เป็นคลังข้อมูลในการเรียนรู้ เพื่อการอออก
                         ั
               แบบและพฒนา โดยผสมผสานงานศิลปะ ทั้งด้านประติมากรรม จิตรกรรม ธรรมชาติ ฯลฯ ด้วยวิธีการคิด
               โดยน าเอาโครงสร้างจากที่หนึ่งมาเป็นตัวตั้ง และเอาลวดลายจากอกที่หนึ่งมาประกอบ สุดท้ายเอาจิตวิญญาณ
                                                                        ี
               และความรู้สึกสอดแทรกเข้าไปในชิ้นงานนั้น จึงท าให้งานชิ้นนั้นก็จะเกิดความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือน

               ใคร อันน าไปสู่อัตลักษณ์เฉพาะที่เห็นแล้วทราบได้เลยว่า นี่คือผลงานของนายอุทัยย์ กาญจนคูหา

                           จากจุดเริ่มต้นจวบจนปัจจุบัน รวมระยะเวลาที่ นายอทัยย์  กาญจนคูหา ใช้ในการเรียนรู้จากที่ไม่รู้
                                                                      ุ
               อะไรเลยจนเชี่ยวชาญเช่นในปัจจุบัน รวมถึงการสร้างสรรค์งานศิลปหัตถกรรม รวมระยะเวลากว่า ๓๒ ปี

                              ุ
               แม้ปัจจุบัน นายอทัยย์ ยังคงท างานศิลปหัตถกรรมด้วยตัวเองในทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง โดยมีแนวคิดที่น ามาใช้
               ในการท างานศิลปหัตถกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน คือ การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ ทั้งนี้เพราะนายอทัยย์
                                                                                                         ุ
               เริ่มต้นท าเครื่องปั้นดินเผาด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่ เพราะสมัยนั้นแหล่งเรียนรู้ยังมีไม่มากและ

               สะดวกกับการเรียนรู้เช่นในปัจจุบัน ดังนั้น ในการเรียนรู้จึงต้องศึกษาจากหนังสือและต าราที่อยู่ และน าองค์ความรู้
                                                                                               ั
                                                               ั
               ดังกล่าวมาทดลองเป็นเวลา ๕ ปี จึงท าให้มีความรู้ที่เป็นอตลักษณ์เฉพาะของตนเอง จากนั้นได้พฒนาต่อยอดและ
               ประยุกต์ ไม่ว่าทางด้านการวาดลวดลาย งานแกะลาย และรูปแบบให้ดูทันสมัย สามารถใช้งานได้จริง บนแนวคิด

               ความหลากหลาย ดูดี มีสีสัน ทันสมัย และแฝงด้วยความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นไทยอยู่ในทุกชิ้นงาน


































                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   11
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20