Page 170 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 170
๑๖๔
ประวัติกำรท ำงำน
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕ นักวิจัย ศูนย์โบราณคดี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ อาจารย์พิเศษ ภาควิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ อาจารย์ประจ า วิทยาลัยอินเตอร์เทคล าปาง
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตล าปาง
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน อาจารย์ประจ า กลุ่มพัฒนาสุขภาพ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประวัติกำรเรียนรู้ ทักษะ และเทคนิคในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
๑. ด้ำนงำนศิลปกรรมท้องถิ่น นายฐาปกรณ์ เครือระยา ได้รับการปลูกฝังเรื่องงานศิลปะและหัตถกรรม
ื้
พนบ้านมาจากครอบครัว และสถาบันการศึกษา เช่น งานตัดลวดลายกระดาษ การตัดตุง การท าโคมกระดาษ
ั
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีพฒนาการเรื่อยมาจนได้รับเชิญเป็นวิทยากรสอนศิลปะการตัดลวดลายกระดาษ
การท าโคมกระดาษสา การท าตุงล้านนา ในระยะเวลาต่อมา จากสถานศึกษาภายในจังหวัดล าปาง และใกล้เคียง
จนถึงปัจจุบัน
ื้
๒. ด้ำนดนตรี นายฐาปกรณ์ เครือระยา ได้รับการสอนดนตรีไทยและดนตรีพนบ้านล้านนา สะล้อ ซอ
และซึง ตั้งแต่วัยเยาว์ (อายุประมาณ ๗ ขวบ) เนื่องด้วยที่บ้านเป็นสถานที่สอนดนตรีของจังหวัดล าปาง จึงท าให้
ื้
นายฐาปกรณ์ สามารถเล่นดนตรีไทย และเครื่องดนตรีพนเมืองได้ เช่น ระนาดเอก จะเข้ ซออ ซึง และสะล้อ
ู้
และได้เข้าร่วมประกวดการแข่งขันดนตรีทั้งดนตรีไทยและดนตรีพนเมือง จนได้รับรางวัลทั้งในระดับจังหวัด
ื้
และระดับภาค
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ นายฐาปกรณ์ ได้รับการสืบทอดการตีกลองปู่จาจากปราชญ์ชุมชน (ชุมชนบ้านวังหม้อ
อาเภอเมือง จังหวัดล าปาง) ซึ่งเป็นกลองโบราณของทางภาคเหนือที่ใกล้จะสูญหายเพราะไม่มีคนสืบทอด
ในเวลานั้น และในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับรางวัลชนะเลิศ อนดับ ๑ การดีกลองปู่จา จังหวัดล าปาง รวมถึงการเป็น
ั
ส่วนหนึ่งของทีมวิทยากร ร่วมกับการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ในการสอนตีกลองปูจา ๑๓ อาเภอ
ของจังหวัดล าปาง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖