Page 172 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 172
๑๖๖
๓.๒ งำนแกะสลัก นายฐาปกรณ์ เครือระยา มีความสามารถแกะสลักลวดลายบนวัสดุ
ที่หลากหลาย อาทิ การแกะสลักผลไม้ แกะโฟม และแกะสลักไม้ ทั้งนี้ ระหว่างการศึกษาในระดับประถมศึกษา
นายฐาปกรณ์ ได้เป็นตัวแทนโรงเรียนเข้าร่วมแข่งขันแกะสลักผักผลไม้ระดับจังหวัด และในช่วงการศึกษา
ุ
ระดับอดมศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการแกะสลักโฟมเป็นรูปต่างๆ เช่น ลวดลายกระหนก รูปสัตว์สิบสองราศี
รูปบุคคลและพญานาค ตามลักษณะงานที่เป็นกิจกรรมของสถานศึกษา
ั
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๕) นายฐาปกรณ์ ได้พฒนารูปแบบ
ุ
การแกะสลักบนผิววัสดุที่เป็นไม้ ในรูปแบบของลวดลายล้านนา รวมไปถึงแกะสลักพระพทธรูปไม้ล้านนา
แผงพระพิมพ์
ื้
งานปิดทองล่องชาดหรือช่างพนถิ่นเรียกว่า งานลายค า เป็นอกหนึ่งงานที่นายฐาปกรณ์ ได้ท าการศึกษา
ี
ื่
ื้
ื้
ลวดลาย และรื้อฟนลักษณะเทคนิคลายค า เพอน ามาสร้างสรรค์งานศิลปะพนบ้านให้คงอยู่ และได้น างานลายค า
เหล่านี้กลับมาใช้ในการสร้างสรรค์และบูรณะงานพุทธศิลป์ล้านนา ให้กับวัดในพื้นที่
๔. ด้ำนงำนอนุรักษ์ ด้วยความรู้และความสามารถที่มี ท าให้นายฐาปกรณ์ เครือระยา ได้น าเอาเทคนิค
เกี่ยวกับงานช่าง ไปอนุรักษ์ซ่อมแซมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุต่างๆ ภายในวัดในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น
พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๑ เขียนภาพจิตรกรรมประดับแผงคอสอง ในการบูรณะวิหารพระเจ้า
พันองค์ วัดปงสนุกเหนือ อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๕) การบูรณะซ่อมแซมภาพตุงค่าวธรรม (ภาพพระบฎ)
ในเขตภาคเหนือตอนบน โดยร่วมกับศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาลัยสงฆ์นครล าปาง ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
บ้านปงสนุก จ านวน ๑๖ วัด รวมทั้งหมด ๒๔๘ ผืน เป็นต้น