Page 177 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 177
๑๗๑
ิ
ิ
ิ
พ.ศ. ๒๕๕๙ จัดท าและออกแบบพพธภัณฑ์ คุ้มบุรีรัตน์ (มหาอนทร์) อาเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม่
๖. ด้ำนกำรจัดกำรมรดกทำงวฒนธรรม นายฐาปกรณ์ เครือระยา ได้น าความรู้ รูปแบบ และวิธีการ
ั
มาจัดการวัฒนธรรมเพอการอนุรักษ์ และสืบทอด ด้วยการการปลูกฝังจิตส านึกให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าและ
ื่
ความส าคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของตนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน การปรับใช้และอยู่ร่วมกัน
อย่างเกื้อกูลในสังคมปัจจุบันผ่านกระบวนการคิดในรูปแบบของงานวิจัย เพอน าไปเผยแพร่ และการตีพมพ
ิ
์
ื่
เป็นหนังสือแจกจ่ายให้กับห้องสมุดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
พ.ศ. ๒๕๕๔ ฐาปกรณ์ เครือระยา และคณะ. (วิจัยร่วม). การปลูกจิตส านึกในการอนุรักษ์ที่ยั่งยืน
ผ่านการสร้างสื่อผสม (Mixed Media) ร่วมกับชุมชน. เชียงใหม่: ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
แหล่งเงินทุนสนับสนุนงานวิจัย : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ู
พ.ศ. ๒๕๕๕ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การจัดการฟนฟประเพณีตั้งธรรมหลวงโดยการมีส่วนร่วมของ
ื้
ชุมชนบ้านวังหม้อ อาเภอเมืองล าปาง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
สาขาการจัดการศิลปวัฒนธรรม.
พ.ศ. ๒๕๕๖ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษารูปแบบและแนวคิด ซุ้มประตูโขงและโขงพระเจ้า
สกุลช่างล าปาง ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๒ – ๒๕. แหล่งเงินทุนสนับสนุนการวิจัย: วิทยาลัยอินเตอร์เทคล าปาง
พ.ศ. ๒๕๕๗ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองล าปาง ผ่านบันทึกและ
งานพุทธศิลป์ครูบาอาโนชัยธรรมจินดามุนี. แหล่งเงินทุนสนับสนุนการวิจัย: วิทยาลัยอินเตอร์เทคล าปาง
พ.ศ. ๒๕๕๗ ฐาปกรณ์ เครือระยา. (วิจัยร่วม). การศึกษาและรวบรวมข้อมูลรูปแบบภาพตุงค่าวธรรม
ื่
เพอการพฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปกรรมทางพทธศาสนาในจังหวัดล าปาง ทุนอดหนุนการวิจัย โดยกรมส่งเสริม
ุ
ุ
ั
วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม