Page 178 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 178
๑๗๒
พ.ศ. ๒๕๖๐ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษาและรวบรวมรูปแบบลวดลายขูดโบราณของเครื่องเขิน
ื้
ื่
ู
ุ
บ้านนันทาราม เพอการอนุรักษ์และฟนฟผลิตภัณฑ์เครื่องเขินจังหวัดเชียงใหม่. ทุนอดหนุนการวิจัย
โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
พ.ศ. ๒๕๖๑ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษารวบรวมองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาดอกกล้วยไม้
ุ
(ดอกเออง) ที่ปรากฏในพธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา. ทุนอดหนุนการวิจัย โดยโครงการอนุรักษ์
ื้
ิ
ั
ื
ั
พนธุกรรมพช อนเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการกล้วยไม้
ไทยพระราชทาน
พ.ศ. ๒๕๖๒ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษาและรวบรวมข้อมูลภาพจิตรกรรมฝาผนัง
เพื่อการสร้างสรรค์ ภาพตุงค่าวธรรม วัดบวกครกหลวง จังหวัดเชียงใหม่. ทุนอุดหนุนการวิจัย โดยคณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ิ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การจัดการงานศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีและพธีกรรมของชุมชน
ิ
ุ
ในเขตอาเภอขุนยวมแบบมีส่วนร่วมภาคประชาชน ภายใต้ชุดโครงการวิจัยพพธภัณฑ์มีชีวิตขุนยวม ทุนอดหนุน
ิ
การวิจัย ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจ าปี ๒๕๖๒
ั
ื
ุ
พ.ศ. ๒๕๖๓ ฐาปกรณ์ เครือระยา. การศึกษาภาพบันทึกพนธุกรรมพชโบราณ ผ่านงานพทธศิลป์
ั
ื
ั
ุ
ล้านนา. ทุนอดหนุนการวิจัย โดยโครงการอนุรักษ์พนธุกรรมพช อนเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพ-
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการกล้วยไม้ไทยพระราชทาน
ผลงำนโดดเด่นมีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับ
๑. ชื่อผลงาน งานวิจัยเครื่องเขิน
พ.ศ. ๒๕๖๐ นายฐาปกรณ์ เครือระยา ได้ท าการศึกษาและรวบรวมรูปแบบลวดลายขูดโบราณ
ของเครื่องเขินบ้านนันทาราม เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูผลิตภัณฑ์เครื่องเขินจังหวัด
แนวคิดในการศึกษาเพอรวบรวมลวดลายขูดเครื่องเขินโบราณไว้ และน าไปสู่การพฒนาและต่อยอด
ื่
ั
ผลิตภัณฑ์อันเป็นอกลักษณ์ท้องถิ่น ซึ่งเป็นงานหัตถศิลป์ส าคัญของเมืองเชียงใหม่
เทคนิคการสร้างสรรค์ ด้วยการสานโครงสร้างไม้ไผ่ และน ามาทาด้วยยางรักหลาย ๆ ชั้น
สลับกับการขัดผิวให้เรียบเนียนก่อนจะท าการขูดลวดลายต่าง ๆ จากนั้นถมชาดสีแดงเข้าไปในร่องที่ขูดลายไว้
รอให้แห้ง แล้วน ามาขัดผิวอีกครั้งก่อนจะเช็ดเงาด้วยยางรักใสเป็นขั้นตอนสุดท้าย