Page 90 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 90
๘๔
กระบวนท่ำที่ ๑๙
ท่าที่ ๑ ท่าที่ ๒ ท่าที่ ๓
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน: ศิลปะการต่อสู้ยังคงจ าเป็นในวิถีชีวิต เนื่องจาก
ั
ภัยอนตรายยังอยู่รอบตัว นอกจากนี้การฝึกเจิงเป็นประจ าในลักษณะศิลปะการต่อสู้ยังเป็นการออกก าลังกาย
ที่ส่งเสริมทางด้านสุขภาพ ศิลปะในสายวิชาเจิงยังสะท้อนตัวตนที่ชัดเจนและสามารถพัฒนาให้เป็นกีฬาสร้างสรรค์ได้
ในอนาคต
๕. ฟ้อนเจิงง้ำว
ชื่อผลงำน: ฟ้อนเจิงง้าว
ี
ั
แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: ศิลปะการฟอนเจิงอาวุธยาวเป็นอกหนึ่งอตลักษณ์ที่หาชมได้ยาก
้
และควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้อยู่คู่วัฒนธรรมสืบไป อาวุธยาวเป็นอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง และยังเป็นศิลปะ
ชั้นสูงเนื่องจากต้องใช้ทักษะความสามารถในการควบคุมอาวุธที่มีความยาวมีน้ าหนักและมีความอนตราย
ั
การเรียนรู้อย่างเป็นระบบเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการศึกษาเชิงอนุรักษ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: หลักสูตรวิชาอาวุธยาวแบ่งออกเป็น ๙ ขั้น ๒ ส่วนหลัก
ได้แก่ การฟ้อน ๔ ขั้น และการต่อสู้ ๕ ขั้น
้
ขั้นตอน / วธีกำรผลิตผลงำน: ในหมวดการฟอนเจิงอาวุธยาวแบ่งเป็น ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ๑.วิชาพนฐาน
ื้
ิ
้
้
้
้
อาวุธยาว ๒.วิชาฟอนเจิงไม้ค้อน (พลอง) ๓.วิชาฟอนเจิงหอก และวิชาฟอนเจิงง้าว ดังนั้น ฟอนเจิงง้าว
จึงเป็นตัวจบของกระบวนการเรียนรู้ในหมวดวิชาฟอนเจิงอาวุธยาวดังที่กล่าวมา ก่อนที่จะไปสู่หมวดวิชาเจิงต่อสู้
้
ด้วยอาวุธยาวอีก ๕ ขั้นที่เหลือ ซึ่งมีกระบวนการที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นไป ดังต่อไปนี้