Page 93 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 93

๘๗


















                              ท่าที่ ๒๔              ท่าที่ ๒๕                   ท่าที่ ๒๖
















                         ท่าที่ ๒๗                   ท่าที่ ๒๘                        ท่าที่ ๒๙















                           ท่าที่ ๓๐                         ท่าที่ ๓๑                       ท่าที่ ๓๒


                                                                        ้
                       คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน: วิชาฟอนเจิงอาวุธยาวมีความยากในการเรียนรู้
                                                                        ้
               ท าให้ไม่ได้รับความนิยมเทียบเท่าการฟอนเจิงมือเปล่าและการฟอนเจิงดาบ อกทั้งเป็นอาวุธโบราณที่ไม่ถูก
                                                  ้
                                                                                    ี
               ประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายส่งผลให้มีความเสี่ยงที่จะสูญหายไปกับกาลเวลา ในขณะที่องค์ความรู้ภูมิปัญญาด้านนี้
               จึงมีความส าคัญในเชิงมรดกทรัพย์สินทางปัญญาและวัฒนธรรม มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวสูง มีความงดงามในศิลปะ

               ไม่แพศาสตร์แขนงใดในโลก ซึ่งเปรียบเทียบจากกระบวนท่าในฐานการเรียนรู้ที่มีมากมายหลากหลาย มีเทคนิค
                    ้
                                                         ื่
               วิธีการครบถ้วนเมื่อเทียบกับศาสตร์ของชนชาติอน สามารถประยุกต์ปรับใช้ได้หลากหลายรูปแบบ ในปัจจุบัน
                                                          ื่
               ท่าการฟอนเจิงง้าวหรือกลุ่มอาวุธยาวนอกจากฝึกเพอการอนุรักษ์แล้วยังสามารถใช้ในการออกก าลังกายได้อย่างดี
                       ้
                                                                                          ้
               ช่วยปรับสมดุลร่างกาย ปรับสรีระการเคลื่อนไหวให้สง่างาม และฝึกสมาธิขณะปฏิบัติการฟอนได้ อนึ่งวิชาเจิงง้าว
               ยังคงใช้งานได้จริงเมื่อถึงคราวคับขันจ าเป็นในการประยุกต์สิ่งรอบตัวมาเป็นอาวุธป้องกันตัวได้อีกด้วย
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98