Page 100 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 100
ื้
๙. ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมพนบ้านของจังหวัดล าพน ได้แก่ ฟอนเล็บ ฟอนหริภุญไชย ฟ้อนยอง
้
ู
้
ให้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย โดยมีการศึกษาเรียนรู้เตรียมความพร้อมก่อนออกไปเป็นวิทยากร ดังนี้
๑) ศึกษาท่าฟอนเล็บของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี จากบทบันทึกการสัมภาษณ์ อาจารย์
้
เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ อาจารย์ขิมทอง ณ เชียงใหม่ ซึ่งเป็นบทบันทึกการสัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม
้
๒๕๒๖ และศึกษาท่าร าจากแม่บทเล็ก แม่บทใหญ่ โดยนายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา ได้แบ่งท่าฟอนเล็บออกเป็น
ู
ื่
๔ ชุด เพอให้ง่ายแก่การจดจ าและยึดเป็นแบบฉบับของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดล าพน ในการอนุรักษ์
สืบทอด และเผยแพร่ต่อไป
๒) เรียนเชิญผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิเรกชัย มหัทธนะสิน ภาคภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ประดิษฐ์ฟอนหริภุญไชย และคณะมาเป็นวิทยากรต้นแบบถ่ายทอดฟอนหริภุญไชย และ
้
้
ู
เพลงหริภุญไชย ให้คณะวิทยากรของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดล าพน จ านวน ๑๑ คน ครูผู้ร่วม
สังเกตการณ์ จ านวน ๕๙ คน รวมเป็น ๗๐ คน ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านป่าเห็ว อาเภอเมือง จังหวัดล าพน
ู
เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๒ คณะวิทยากรของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดล าพูน จะเป็นผู้ส่งเสริมเผยแพร่
้
ู
อนุรักษ์ฟอนหริภุญไชย ให้เป็นศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดล าพน และเป็นวิทยากรให้การอบรมครูผู้สอน
ฟ้อนหริภุญไชย อบรมชุมชน และกลุ่มสนใจ สอนนักเรียน ต่อไป
ู
๓) ได้เชิญ อาจารย์ประเสริฐ นันตา โรงเรียนวชิรป่าซาง อาเภอป่าซาง จังหวัดล าพน ผู้ประดิษฐ์
้
้
ฟอนยอง และนักเรียนต้นแบบฟอนยอง มาเป็นวิทยากรถ่ายทอดฟอนยอง ให้คณะวิทยากรของส านักงาน
้
การประถมศึกษาจังหวัดล าพน จ านวน ๔ คน ครูผู้ร่วมสังเกตการณ์ จ านวน ๔๓ คน รวมเป็น ๔๗ คน เมื่อวันที่
ู
๑๖-๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๖ เพื่อเป็นวิทยากรให้การอบรมครูผู้สอนฟ้อนยอง อบรมชุมชน กลุ่มสนใจและสอนนักเรียน
ต่อไป
ู
ื้
๑๐. จัดอบรมครูผู้สอนนาฏศิลป์พนบ้านของจังหวัดล าพน ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนหริภุญไชย ฟ้อนยอง
ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ตามกลุ่มสนใจ เพื่อให้ครูน าไปสอนนักเรียนตามหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียน และ
ส่งเสริมให้ครูน านักเรียนไปแสดงในโอกาสต่างๆ เช่น งานวัด งานโรงเรียน งานหมู่บ้าน งานต าบล งานอาเภอ
งานจังหวัด และงานวันส าคัญต่าง ๆ
้
๑๑. เป็นวิทยากรอบรมเผยแพร่ขยายผลการสอนฟอนเล็บ ฟอนหริภุญไชย ฟอนยอง ให้ครูชุมชน
้
้
กลุ่มสนใจ และนักเรียน มีเป้าประสงค์ เพอให้รู้คุณค่าและชื่นชมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
ื่
ท้องถิ่น ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
96 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565