Page 101 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 101
๑๒. น าทักษะการฝึกปฏิบัติมาใช้ในการอบรมและการสอนฟอนเล็บ ฟ้อนหริภุญไชย ฟ้อนยอง ให้กับ
้
ครูผู้สอน ชุมชน และกลุ่มสนใจ ตามขั้นตอนดังนี้
๑) สังเกต รับรู้ เช่น ให้รู้จักแบบอย่าง ท่าทาง
๒) ท าตามแบบ ฝึกจากพื้นฐานไปสู่ท่าทางที่ซับซ้อนยากขึ้น โดยท าตามแบบที่ก าหนด
ี
๓) ท าเองโดยไม่มแบบ เป็นการฝึกปฏิบัติให้ครบกระบวนการด้วยตนเอง
๔) ฝึกให้ช านาญ สามารถท าได้จนเป็นอัตโนมัติ
้
๑๓. น าเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงาน มาใช้ในการเป็นวิทยากรถ่ายทอดหรือสอนฟอนเล็บ
ฟ้อนหริภุญไชย และฟ้อนยอง จนประสบผลส าเร็จ และเป็นที่น่าพึงพอใจ มีดังนี้
๑) สอนที่ละทา อธิบายให้ละเอียด ท าให้ถูกต้องได้มาตรฐานแล้วจึงต่อท่าใหม่
่
๒) ระหว่างฝึกปฏิบัติ ต้องคอยสังเกตและเข้มงวดลีลาท่วงท่าให้อยู่ในแบบแผน
๓) คอยจับท่าผู้ฝึกปฏิบัติให้ถูกต้อง ไม่ใช่ฟ้อนน าหน้าอยู่เสมอ
๔) เป็นกระจกส่องด้านหน้า เมื่อเริ่มต่อท่าใหม่ หรือทบทวนท่าเดิม
๕) เข้มงวดเรื่องแถวและท่วงท่าอยู่เสมอ
๖) สอนท่วงท่าฟ้อนก่อน ต่อด้วยจังหวะเท้า แล้วน ามาเชื่อมกัน
๗) บอกท่าลวงหน้าขณะที่ก าลังฝึกฟ้อน
๘) นับจังหวะเพอให้เปลี่ยนท่าพร้อมกัน
ื่
ู
๙) เมื่อฟ้อนได้แล้ว เปิดเพลงให้ฝึกตามจังหวะเพลงอย่างถกต้อง
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 97