Page 208 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 208
ํ
ั
ประวติการทางาน
ั
ิ
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๗ อาจารย์พเศษ มหาวิทยาลยราชภัฏเชียงใหม ่
ู
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ อาจารย์ประจําโครงการ มหาวิทยาลยพิษณุโลก ศนย์จังหวัดเชียงใหม่
ั
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ปัจจุบัน อาจารย์ประจําโครงการ วิทยาลัยอินเตอร์เทคลําปาง จังหวัดลําปาง
ั
ู
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ อาจารย์ประจําหลักสตร มหาวิทยาลยราชภัฏเชียงใหม ่
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ปัจจุบัน อาจารย์ประจําสาขา มหาวิทยาลยพิษณุโลก ศนย์จังหวัดเชียงใหม่
ั
ู
ั
ี
ประวติการเรยนรู ทกษะ และเทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน
ั
้
์
่
ํ
แรกเรมด้วยชุมชนเป็นแหล่งโบราณทางประวัติศาสตร มีเวียงโบราณอายุไม่ต่ากว่า ๘๐๐ ปี มีแหล่งแร่เหล็ก
ิ
่
โบราณทีมีการขุดขึนมาใช้ตังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีการจัดงานประเพณีพิธีกรรมทีสืบทอดมาหลายร้อยปี
่
้
้
่
้
เป็นประจําทุกปี จึงเกิดการซึมซบสนใจทีจะเรียนรูจากการสอบถามบรรพบุรุษผูเฒ่าผูแก่ปราชญ์ภายในชุมชน และ
้
้
ั
้
ออกสํารวจตามแหล่งประวัติศาสตร์เหล่านีด้วยตนเองมาตังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๔ เช่น กําแพงเมืองเก่า วัดโบราณ วัดร้าง
้
่
บ่อเหล็กโบราณ เตาถลุงเหล็กโบราณ เส้นทางน้าโบราณและบ้านเรือนโบราณ เป็นต้น เมือได้เห็นโบราณสถาน
ํ
้
่
่
่
้
่
โบราณวัตถุรวมถึงตํานานเรืองเล่าต่าง ๆ ภายในท้องถิน จึงเกิดความอยากทีจะเปิดพรมแดนองค์ความรูให้มากยิงขึน
้
้
้
่
ผ่านตัวอักษรโบราณ ทีพบเห็นเก็บรักษาไวภายในวัดและบ้านเรือนของผูเฒ่าผูแก่ปราชญ์ชุมชนเหล่านัน รวมถึงจารึก
้
่
่
่
่
ทีปรากฏอยูตามวัดและสถานทีต่าง ๆ จึงได้อาศัยสมุดบันทึกวิธีการเรียนอักษรธรรมล้านนาทีเก็บไว้ภายในบ้าน และ
เรยนรูเองจากสมุดบันทึก พรอมกับสอบถามจากผูเฒ่าผูแก่ปราชญ์ชุมชนจนสามารถอ่านออกเขียนได้ มาตังแต่
ี
้
้
้
้
้
่
้
พ.ศ.๒๔๔๒ จึงเป็นจุดเริมให้อยากศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึงมากยิงขึน จึงได้เข้าไปสํารวจคัมภีร์ใบลาน พับสา ตามวัดต่าง ๆ
้
่
จนถึงจารึกฐานพระพุทธรูปไม้ ขณะเดียวกันก็นําความรูด้านอักษรธรรมล้านนาทีได้ไปก่อตังชุมนุมภาษาและวรรณกรรม
่
้
้
่
่
ล้านนาขึนภายในโรงเรียนลองวิทยา อําเภอลอง จังหวัดแพร่ ใน พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้ถ่ายทอดให้เพือนนักเรียน รุนพีรุนน้อง
่
้
่
่
ทีสนใจเข้าชมรมอย่างต่อเนือง เป็นการพัฒนาต่อยอดองค์ความรูด้านภาษาล้านนา ทําการปริวรรตเอกสารโบราณ
้
่
ล้านนาอย่างสม่าเสมอ พรอมกับการใช้เป็นกุญแจในการสืบค้นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และองค์ความรูหลากหลาย
ํ
้
้
ด้านของท้องถน
่
ิ
่
จนกระทัง พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีโอกาสศึกษาปริญญาตรีในวิชาเอกสาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และวิชาโทสาขาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เปิดโอกาสให้พัฒนา
่
้
่
ตนเองได้อย่างเต็มที ทังด้านประวัติศาสตร์ท้องถิน ประวัติศาสตร์ศิลปะ และศิลปวัฒนธรรมล้านนา ได้ออกสํารวจ
่
่
เอกสารโบราณ ทําทะเบียน ของวัดต่างๆ ในภาคเหนือ และนํามาปริวรรตเผยแพร่สูวงวิชาการมาอย่างสืบเนือง
่
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยิงได้ศึกษา
่
่
ในเชิงลึกทางด้านประวัติศาสตร์ท้องถิน มุงสืบค้นเรืองราวทางประวัติศาสตร์ของท้องถินบ้านเกิดเมืองนอนจนเป็น
่
่
่
ิ
วิทยานพนธ์เรือง เมืองลอง ความผันแปรของหัวเมืองขนาดเล็กในล้านนาจากรัฐจารีตถึงปัจจุบัน ได้ปรับวิทยานิพนธ์
204 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565