Page 211 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 211

ู
                                  (๑.๑๑) พระมหาอุปคตเถรเจ้า จัดพิมพ์โดยมลนิธิบีเจซ บิกซ กรุงเทพมหานคร จํานวน
                                                     ุ
                                                                                       ี
                                                                                    ๊
                                                                                  ี
                                                                      ่
               ๒,๐๐๐ เล่ม เพือทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระวชรเกล้าเจ้าอยูหัว ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐
                                                            ิ
                            ่
                                  (๑.๑๒) ครูบาเจ้าศรีวิชย จัดพิมพ์โดยสมาคมชาวลําพูน อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน
                                                      ั
               จํานวน ๓,๐๐๐ ชุด ๆ ละ ๓ เล่ม รวม ๙,๐๐๐ เล่ม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑
                                          ํ
                                                                  ่
                                 (๑.๑๓) ตานานตามพระลอ พระเพือน พระแพง จัดพิมพ์โดยสํานักงานวฒนธรรม
                                                                                                     ั
               จังหวัดแพร่ จํานวน ๑,๐๐๐ เล่ม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
                                  (๑.๑๔) ศรมุงเมืองเหมองหม้อ ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมท้องถินชุมชนทิศตะวันออกเมอง
                                                     ื
                                                                       ์
                                                                                                            ื
                                                                                        ่
                                           ี
                                                                          ื
                                   ์
               แพร่ จัดพิมพ์โดยองคการบริหารส่วนตําบลเหมืองหม้อ อําเภอเมองแพร่ จังหวัดแพร่ จํานวน ๑๐๐ เล่ม
               ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓
                                                         ่
                                                         ี
                                  (๑.๑๕) วัดพระธาตุแหลมล อรญวาสีเมองลอง จัดพิมพโดยวัดพระธาตุแหลมลี อําเภอลอง
                                                                                ์
                                                                                                    ่
                                                            ั
                                                                   ื
                                          ี
                                          ่
               จังหวัดแพร่ จํานวน ๓๐๐ เล่ม ทระลึกงานไหว้สาพระธาตุแหลมลี ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๔
                                                                     ่
                       แนวคิดเกียวกับการสรีางสรรคผลงาน
                               ่
                                                 ์
                                          ้
                                                                 ่
                                              ่
                                              ิ
                       สืบค้นขอมูลเชิงลึกของทองถนจากข้อมูลหลักฐานทหลากหลาย นําข้อมลหลักฐานทไดมาประมวลวิเคราะห์
                                                                                             ้
                                           ้
                             ้
                                                                                           ่
                                                                                           ี
                                                                                 ู
                                                                 ี
                                         ั
                                                         ่
                            ิ
                             ี
                                                                   ้
                                                                               ิ
                 ี
                                                                               ่
                                                            ิ
                      ี
                                                         ู
               เรยบเรยงโดยวธการทางประวติศาสตร์ เผยแพร่สวงวชาการทังภายในท้องถนและภายในประเทศ และคืนความรู      ้
                         ุ
               กลับเข้าสูชมชนท้องถน
                       ่
                                 ่
                                 ิ
                                 ิ
                                       ี
                                         ้
                                                 ้
                                       ่
                       เทคนคและวีธีการทใชในการสรีางสรรค์ผลงาน
                           ิ
                                   ี
                                                                     ้
                                                                        ่
                                                   ่
                        ื
                       สบค้นหลักฐานเอกสารชันต้นทีสด ๆ ใหม่ ๆ จากพืนทีต่าง ๆ มาวิเคราะหเรยบเรียงเป็นเรองราว
                                                                                         ์
                                                                                           ี
                                                                                                        ่
                                                                                                        ื
                                             ้
                                                                                                         ่
               ทางประวัติศาสตร ภาษาและวรรณกรรม ประเพณีและพิธีกรรม ตลอดจนศลปวัฒนธรรม เพือเพิมพูน
                                                                                                      ่
                                                                                      ิ
                                ์
                                                          ้
                   ์
                                                                                                  ้
                                                                                               ็
                                                                                           ้
                                                                                   ้
                         ้
                                                                        ้
                                                                        ู
                                       ้
               องคความรูสด ๆ ใหม่ ๆ ใหกับวงวิชาการ และสรางชุดองค์ความรใหกับชุมชนทองถินไดใช้เปนพืนฐานแนวทาง
                                                                          ้
                                                                                       ่
                                              ่
               ในการสืบคนศกษาต่อยอดไปอย่างไมมีสนสุด
                         ้
                                                ิ
                                                ้
                           ึ
                                 ิ
                        ั
                                  ี
                       ขนตอน / วีธีการผลีตผลงาน
                                        ิ
                        ้
                                                                           ่
                                             ี
                                                ้
                                                    ้
                                             ่
                           ๑. สํารวจเอกสารทเกยวของทังหมดทีมผูศกษาคนคว้าไว้กอนแล้ว
                                           ี
                                           ่
                                                              ึ
                                                          ่
                                                             ้
                                                                   ้
                                                           ี
                           ๒. เขยนเคาโครงร่างทจะทาการศกษาค้นคว้า
                                ี
                                    ้
                                                 ํ
                                                       ึ
                                             ่
                                             ี
                                                                                               ี
                                                                                               ่
                                          ู
                                                                                                   ้
                           ๓. ปริวรรตข้อมลจากคมภีร์ใบลาน ลานก้อม พับสา พับหัว และสมุดโหรา ทมีเนือหานํามาใช้
                                                ั
                       ี
               ในการเขยน
                           ๔. ลงพืนทีจัดเกบขอมูลทงจากโบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานทีสําคัญ จารึก ตลอดจนสัมภาษณ์
                                         ็
                                    ่
                                                                                  ่
                                            ้
                                                 ้
                                 ้
                                                 ั
                       ้
               ปราชญ์ผูรูผูเฒ่าผแก ่
                        ้
                              ้
                              ู
                         ้
                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   207
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216