Page 209 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 209

้
                                                                                          ้
               ตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบหนังสือและบทความ ตลอดจัดทําเป็นสารคดีจํานวนหลายครัง อีกทังได้รับรางวัล
                                                                                                     ั
                                                 ิ
                                                                      ่
                         ์
               วิทยานิพนธดีเด่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทัง พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้เข้าสอนทางด้านประวติศาสตร์
               และวัฒนธรรม ในสาขาวัฒนธรรมศึกษา ภาควิชาสังคมและวัฒนธรรมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
               มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และเริมเขียนหนังสือ บทความ และวารสาร ออกเผยแพร่อย่างกว้างขวาง มาตังแต่
                                                                                                         ้
                                              ่
                                                                                          ่
                              ่
                                                                          ้
               พ.ศ. ๒๕๕๔ ต่อเนืองมาจนถึงปัจจุบัน รวมหนังสือ วารสาร และสูจิบัตร ทังหมดจํานวน ๔๒ เรือง ๒๗,๒๐๐ เล่ม และ
               บทความ จํานวน ๖๕ เรอง
                                  ื
                                  ่
                                                    ่
                      ประกอบกับในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เมือจบการศึกษาระดับปริญญาโท นอกจากจะเป็นอาจารย์สอน
               ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ทีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ยังได้กลับไป
                                            ่
                                                                                ่
               พัฒนาต่อยอดองค์ความรูทางด้านประวติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของท้องถินบ้านเกิด ด้วยการนําวัตถุโบราณ
                                    ้
                                                ั
                                                               ี
                                ้
               ทีจัดเก็บรวบรวมมาตังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๔ จัดแสดงเป็นแหล่งเรยนรูภายในบ้านใช้ชือว่า “เฮือนแสนเมืองฮอม” เพือเป็น
                                                                                                       ่
                                                                               ่
                 ่
                                                                   ้
                                       ่
                                                                                    ้
                                                                ่
                          ้
                                                                   ่
               แหล่งเรียนรูค้นคว้าแลกเปลียนในด้านประวัติศาสตร์ท้องถินทีอดีตเคยเป็นเมืองหนาด่านและแหล่งทําโลหกรรม
                                                     ่
                                                        ่
                                                                             ้
                                         ่
                            ่
                                ่
               เหล็กโบราณทีมีอยูภายในหมูบ้าน จนกระทังเมือได้รับความสนใจมากขึนจึงได้จัดสร้างอาหารหอพิพิธภัณฑ์
                               ่
                                                        ่
                                                                     ู
               เป็นการเฉพาะ เพือให้เป็นแหล่งเรยนรูของท้องถนได้อย่างเต็มรปแบบในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ตังชือว่า “หอศาสตรา
                                                                                             ่
                                                                                           ้
                                                        ิ
                                            ี
                                                ้
                                 ้
               แสนเมืองฮอม” และตังชือแหล่งเรียนรูทังหมดว่า “เวียงเชียงเหล็ก” และปัจจุบันได้เป็นเครือข่ายทางวิชาการและ
                                               ้
                                    ่
                                                ้
                         ี
               เป็นแหล่งเรยนรในการจัดทํากจกรรมของเครอข่ายพิพิธภัณฑ์ล้านนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนธร (องค์การมหาชน)
                                                                                         ิ
                             ู
                                                     ื
                             ้
                                        ิ
               กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช จังหวัดปทุมธานี
                                                                               ่
                                                            ่
               อนุสรณ์สถานแห่งชาติ จังหวดปทุมธานี และการท่องเทียวแห่งประเทศไทย (ททท.) จึงทําให้มีโอกาสได้ศึกษาค้นควา
                                      ั
                                                                                                           ้
                                                                                            ้
                                                                           ้
                               ่
                        ่
               ต่อยอดอยางต่อเนือง พร้อมกับถ่ายทอดให้กับนักเรียนนักศึกษาและผูสนใจได้ในวงกว้างทังในระดับประเทศ
               และต่างประเทศ






                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   205
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214