Page 10 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 10
๔
ค ำประกำศเกียรติคุณ
นำยนำค ปัญญำดำ
เพชรรำชภัฏ – เพชรล้ำนนำ สำขำศิลปะ ด้ำนหัตถศิลป์ (กำรตีเหล็ก)
นำยนำค ปัญญำดำ เกิดวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ณ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
ส าเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
นายนาค ปัญญาดา ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาการตีเหล็กจากรุ่นสู่รุ่นผ่านระบบเครือญาติ
ในลักษณะการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ ประกอบกับการใฝ่รู้ใฝ่ศึกษาและมุ่งมั่นที่จะรักษาองค์ความรู้ของชุมชน จึงท าให้
สั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ภูมิปัญญาในการตีเหล็กมาถ่ายทอดเป็นแบบอย่างอย่างให้กับคนรุ่นหลัง ตลอด
ิ
ั
ุ
ุ
ระยะเวลากว่า ๔๐ ปีที่ผ่านมาเป็นเครื่องพสูจน์ได้ถึงความวิริยะ อตสาหะ และความตั้งใจในการฝ่าฟนอปสรรค แม้ว่า
ุ
กระแสความนิยมในการตีเหล็กแบบอตสาหกรรมในครัวเรือนเปลี่ยนไปเป็นการผลิตโดยโรงงานอตสาหกรรมที่มุ่งเน้น
ุ
ุ
การผลิตในจ านวนที่มาก จึงท าให้อตสาหกรรมการตีเหล็กในครัวเรือนเกือบจะสูญหายไปจากชุมชน คงเหลือเพยง
ี
ไม่กี่แห่งที่ยังคงยืนหยัดสืบสานมรดกภูมิปัญญาของชุมชน ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ นายนาค เพราะด้วยความรักอย่างลึกซึ้ง
ในองค์ความรู้ของชุมชน จึงได้มุ่งมั่นพฒนาและสร้างสรรค์ผลงานบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการประยุกต์วัสดุ
ั
ในการตีเหล็กโดยใช้ เหล็กแหนบรถ เพราะมีความคม แข็งแรง คงทน และไม่บิ่นง่าย โดยผลงานแต่ละชิ้น
จะมีด้ามจับที่แข็งแรงและท าด้วยมือ เพราะด้วยความรักอย่างลึกซึ้งในองค์ความรู้ของชุมชน นายนาค ปัญญาดา
ื่
จึงได้มุ่งมั่นที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตีเหล็กให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายเพอเป็นการสืบสานองค์ความรู้
ของชุมชนไม่ให้สูญหายไปจากชุมชน ด้วยพลังแห่งการสร้างสรรค์และความตั้งใจที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ไปสู่ผู้ที่จะก้าว
เข้ามาในเส้นทาง สล่า (ช่าง) ตีเหล็ก จึงท าให้นายนาค ปัญญาดา ได้รับรางวัล บุคคลต้นแบบด้านการตีเหล็ก
ต าบลเวียง อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
นำยนำค ปัญญำดำ จึงสมควรได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา สาขาศิลปะ
ด้านหัตถศิลป์ (การตีเหล็ก) พุทธศักราช ๒๕๖๖