Page 15 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 15

๙



              ขั้นตอน/วิธีกำรผลิตผลงำน

                      ขั้นตอนแรกของการผลิต คือ การตัดเหล็กให้ได้ขนาดที่ต้องการ จากนั้นน าไปเผาไฟให้ร้อนจนเป็นสีแดง

              และตีจนกว่าจะได้รูปทรงตามที่ต้องการ ขั้นตอนที่สอง คือ การแต่งขึ้นรูป ด้วยการน าไปเผาให้ร้อนจนแดง โดยน ามาตี

              ในส่วนที่เป็นกั่นหรือด้ามก่อน จากนั้นจึงตีส่วนที่เป็นตัวมีด ด้ามมีดส่วนโคนจะมีลักษณะเรียวและปลายแหลมเพื่อน าไป
                                                      ื่
              เสียบด้ามไม้ ขั้นตอนที่สามจะเป็นการตีแต่งเพอให้ผิวเหล็กเรียบ ให้มีรูปร่างตามที่ต้องการ ย้ าคมให้บางและตรง
              ขั้นตอนที่สี่ เป็นการตะไบแต่งเพื่อแต่งส่วนที่คมโดยใช้ตะไบเหล็ก ปัจจุบันจะใช้เครื่องเจียระไนไฟฟ้าเพอเป็นการทุ่นแรง
                                                                                                  ื่
                                                                                               ื่
              ขั้นตอนที่ห้า คือ การชุบคม ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนส าคัญซึ่งช่างต้องมีความช านาญเป็นพเศษ เพอจะท าให้ผลิตภัณฑ์
                                                                                        ิ
              มีความคม แข็ง และไม่บิ่นง่าย โดยน าเหล็กที่ใช้ท ามีดที่ตกแต่งคมเรียบร้อยแล้วไปเผาเฉพาะส่วนที่คมเท่านั้น
              เมื่อเหล็กร้อนจนแดงเสมอกันให้รีบน าไปจุ่มในอางน้ า โดยจุ่มลงไปเฉพาะส่วนคม ประมาณ ๑ – ๒ เซนติเมตร
                                                         ่
              ซึ่งจะต้องท าอย่างรวดเร็วและท าซ้ าประมาณ ๑ – ๒ ครั้ง และขั้นตอนสุดท้าย คือ การเข้าฝักประกอบด้ามมีด



              คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
                                                                                                              ื่
                      ลักษณะเด่นของมีดที่ท าจากเหล็ก คือ มีคุณภาพและความแข็งแรง ทนทานกว่ามีดที่ผลิตจากวัสดุอน
              หรือที่ผลิตจากโรงงาน แม้ว่ามีดที่ผลิตจากโรงงานจะมีราคาถูกกว่ามีดที่ตีจากเหล็ก แต่มีดที่ตีจากเหล็กแหนบ นอกจาก

              จะมีความทนทาน ยังมีลักษณะเฉพาะ รูปร่างที่แตกต่างกันของแต่ละด้ามโดยอยู่ที่ลักษณะของเหล็กแหนบที่เป็น
              วัสดุเดิม และมีการท าให้มีขนาดที่เหมาะสมกับประเภทการใช้งาน เช่น มีดอโต้ใช้ส าหรับการสับ มีดปลายแหลม
                                                                                ี
              ส าหรับการหั่น เป็นต้น ซึ่งมีดที่ตีจากเหล็กถือได้ว่าอยู่คู่วิถีชีวิตของคนไทยโดยเฉพาะชาวล้านนามายาวนาน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20