Page 16 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 16
๑๐
แนวคิดและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ั
วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยก่อนผูกพนและด าเนินชีวิตส่วนใหญ่ในการหาอาหารในป่า จึงจ าเป็นต้องมีเครื่องมือ
เครื่องใช้ที่เหมาะสมและสามารถใช้งานได้อเนกประสงค์ จึงท าให้มีการประยุกต์ท ามีดที่มีลักษณะและขนาดที่เหมาะสม
สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย จึงเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดการตีมีดส าหรับเดินป่า แต่ปัจจุบันวิถีชีวิต
ุ
ของคนสมัยใหม่เปลี่ยนไป แต่มีดก็ยังถือเป็นอปกรณ์ที่สามารถใช้งานได้หลากหลายประโยชน์ จึงได้มีการพฒนา
ั
ด้วยการปรับขนาดและรูปแบบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เน้นการพกพาประจ าตัว การประดับตกแต่งบ้านเรือน
ขั้นตอน/วิธีกำรผลิตผลงำน
ขั้นตอนแรกของการผลิต คือ การตัดเหล็กให้ได้ขนาดที่ต้องการ จากนั้นน าไปเผาไฟให้ร้อนจนเป็นสีแดง
และตีจนกว่าจะได้รูปทรงตามที่ต้องการ ขั้นตอนที่สอง คือ การแต่งขึ้นรูป ด้วยการน าไปเผาให้ร้อนจนแดง โดยน ามาตี
ในส่วนที่เป็นกั่นหรือด้ามก่อน จากนั้นจึงตีส่วนที่เป็นตัวมีด ด้ามมีดส่วนโคนจะมีลักษณะเรียวและปลายแหลมเพื่อน าไป
เสียบด้ามไม้ ขั้นตอนที่สามจะเป็นการตีแต่งเพอให้ผิวเหล็กเรียบ ให้มีรูปร่างตามที่ต้องการ ย้ าคมให้บางและตรง
ื่
ขั้นตอนที่สี่ เป็นการตะไบแต่งเพื่อแต่งส่วนที่คมโดยใช้ตะไบเหล็ก ปัจจุบันจะใช้เครื่องเจียระไนไฟฟ้าเพอเป็นการทุ่นแรง
ื่
ิ
ขั้นตอนที่ห้า คือ การชุบคม ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนส าคัญซึ่งช่างต้องมีความช านาญเป็นพเศษ เพอจะท าให้ผลิตภัณฑ์
ื่
มีความคม แข็ง และไม่บิ่นง่าย โดยน าเหล็กที่ใช้ท ามีดที่ตกแต่งคมเรียบร้อยแล้วไปเผาเฉพาะส่วนที่คมเท่านั้น
เมื่อเหล็กร้อนจนแดงเสมอกันให้รีบน าไปจุ่มในอางน้ า โดยจุ่มลงไปเฉพาะส่วนคม ประมาณ ๑ – ๒ เซนติเมตร
่
ซึ่งจะต้องท าอย่างรวดเร็วและท าซ้ า ประมาณ ๑ – ๒ ครั้ง และขั้นตอนสุดท้าย คือ การเข้าฝักประกอบด้ามมีด
และตกแต่งถักฝักให้สวยงาม