Page 18 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 18
๑๒
้
ปัจจุบันจะใช้เครื่องเจียระไนไฟฟาแทน ขั้นตอนที่ห้า เป็นการชุบคม ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนส าคัญ ซึ่งช่างต้องมี
ื่
ิ
ความช านาญเป็นพเศษ เพอจะท าให้ผลิตภัณฑ์มีความคม แข็ง ไม่บิ่นง่าย โดยน าเหล็กที่ใช้ท ามีดที่ตกแต่งคม
่
เรียบร้อยแล้วไปเผาเฉพาะส่วนที่เป็นคมเท่านั้น เมื่อเหล็กร้อนจนแดงเสมอกันให้น าไปจุ่มในอางน้ าด้วยความรวดเร็ว
โดยจุ่มลงไปเฉพาะส่วนคม ประมาณ ๑ – ๒ เซนติเมตร และท าซ้ าประมาณ ๑ – ๒ ครั้ง ทั้งนี้ เครื่องมือบางชนิด
ต้องประกอบด้ามให้เหมาะสมกับประเภทการใช้งาน
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
เครื่องมือช่างและเครื่องมือการเกษตรถือเป็นอปกรณ์ที่ส าคัญกับเกษตรกรโดยเฉพาะภาคเหนือที่ประชาชน
ุ
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และปัจจุบันอปกรณ์เหล่านี้เริ่มหายากมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบวัสดุ
ุ
ุ
มาใช้วัสดุทดแทนที่อาจจะไม่มีความคงทน แข็งแรงเหมือนอปกรณ์แต่โบราณที่ท ามาจากเหล็ก ซึ่งเครื่องมือที่ท า
จากเหล็ก หากได้รับความเสียหายหรือช ารุดสามารถน ามาซ่อมแซม ด้วยการตีใหม่ให้กลับสู่สภาพเดิม
แนวคิดและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ุ
ปัจจุบันรูปแบบการใช้งานของอปกรณ์และเครื่องมือที่ท าจากเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงไป โดยมีการใช้
วัสดุทดแทน เช่น อลูมิเนียมที่มีราคาถูกกว่า ท าให้ผู้ผลิตดาบต้องมีการปรับปรุง พฒนารูปแบบและประยุกต์ภูมิปัญญา
ั
ให้เข้ากับสภาพปัจจุบัน ซึ่งคุณค่าของมีดและดาบที่ท าจากเหล็กยังคงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่า ควรค่าแก่การอนุรักษ ์
ดังนั้น จึงได้มีการพฒนาปรับปรุงรูปแบบ จากการใช้งานในชีวิตประจ าวันมาเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของที่ระลึก
ั
ของตกแต่งที่เพมมูลค่าและความงดงามประกอบกับศิลปะงานช่างไม้ สร้างมูลค่า สร้างอาชีพ รายได้ให้กับคนในชุมชน
ิ่
ได้เพิ่มมากขึ้น