Page 217 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 217
๒๑๑
รำงวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ
พ.ศ. ๒๕๖๒ รางวัลผู้ท าคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ระดับจังหวัด
จากส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดล าพูน
พ.ศ. ๒๕๖๔ รางวัลชมเชย การประกวดแข่งขันคลิป หัวข้อ “เยาวชนลี้รุ่นใหม่ ใส่ใจท้องถิ่น”
(เรียบเรียงและตดต่อ : สัณหณัฐ สุติยะ)
ั
จากมหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง
พ.ศ. ๒๕๖๕ รางวัลชมเชย การแข่งขันกลองสะบัดชัย เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฎ
เชียงใหม่
จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รางวัลชมเชย การแข่งขันกลองปู่เจ่ เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฎ
เชียงใหม่
จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รางวัลวัฒนคุณาธร ผู้ท าคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม
จากกระทรวงวัฒนธรรม
วิธีกำรเรียนรู้หรือทักษะและเทคนิคในกำรสร้ำงผลงำน
ปัจจุบันศิลปะการแสดงล้านนา : การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง และตบมะผาบ ก าลังจะสูญหายไปจากแผ่นดิน
่
ล้านนา ดังค ากล่าวของพอครูศรัณย์ สุวรรณโชติ ที่ว่า “..เมื่อไม่กี่สิบปีนี้เอง เจิงถูกลดบทบาทความนิยมลง
เพราะค่าความนิยมของคนเปลี่ยนไป บ้านเมืองดีขึ้น ตัวบทกฎหมายเข้มงวดขึ้น ชุมโจรอะไรต่างๆ น้อยลง ความ
ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินก็มีมากขึ้น ค่านิยมจากส่วนกลางแข็งแรงกว่าเข้ามาแทนที่ เจิงก็หมดวิถีการใช้งาน
กลายเป็นของล้าหลัง ไม่ศิวิไลซ์ ไม่สมัยใหม่ คนที่เกาะกุมวิชาไว้ก็หวงแหน ไม่อยากถ่ายทอดให้ใครง่าย ๆ
ในฝั่งคนที่นิยมก็กลับไม่ค่อยนิยม มันเลยเกิดช่องว่างขึ้นมา” ดังนั้น นายสัณหณัฐ สุติยะ ในฐานะคนล้านนา
่
ั
จึงต้องการที่จะอนุรักษ์และสืบสาน ด้วยการเรียนรู้จากพอครูที่มากด้วยประสบการณ์ จากนั้นน ามาพฒนา
ต่อยอด แต่เป็นการพฒนาบนฐานองค์ความรู้ดั้งเดิม และไม่รู้สึกอาย ด้วยมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ซึ่งองค์ความรู้ของ
ั
บรรพชนที่ได้สร้างสรรค์และสั่งสมให้กับชุมชน ด้วยการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น