Page 218 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 218
๒๑๒
คุณธรรม / จริยธรรมในกำรด ำรงชีวิต
กำรประกอบสัมมำอำชีพและควำมส ำเร็จที่สำมำรถถือเป็นแบบอย่ำงที่ดีแก่บุคคลอื่น
“วฒนธรรม” เป็นสิ่งที่งดงามและทรงคุณค่าอย่างยิ่ง เพราะเป็นสมบัติที่บรรพบุรุษรักษาและสืบทอดไว้
ั
ให้แก่คนรุ่นหลังได้เห็นและสืบสานต่อไปเรื่อยๆ นายสัณหณัฐ สุติยะ ในฐานะเยาวชนคนหนึ่งที่รักในศิลปวัฒนธรรม
้
ล้านนา เช่น การฟอนดาบ มะผาบ ลายเจิง การตีกลอง หรือการแสดงต่างๆ ที่ถูกสืบทอดมาในแบบฉบับล้านนา
่
่
ภาคเหนือ เห็นว่าการรักษาวัฒนธรรมเหล่านี้ไว้ “ไมใช่เรื่องยำก แต่ก็ไมใช่เรื่องง่ำย” เพราะก่อนที่เราจะน า
วัฒนธรรมเหล่านี้ไปเผยแพร่ผ่านการแสดงต่าง ๆ นั้น สิ่งส าคัญที่จะต้องมี ได้แก่
ู
๑) การมีองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่จะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ทางศิลปะได้อย่างถกต้อง แม่นย า
๒) การมีคุณธรรมและมีใจรักในศิลปวัฒนธรรม มีความพร้อมที่จะศึกษาหาความรู้เพมเติมและสืบสาน
ิ่
ต่อยอด และถ่ายทอดโดยไม่มีก าแพงอุปสรรคใดๆ
๓) การมีความเสียสละและอดทน การสืบสาน ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมจ าเป็นจะต้องอาศัยระยะเวลา
การเรียนรู้และซึมซับความงดงามของศิลปวัฒนธรรม
ควำมรับผิดชอบ ควำมเสียสละ และกำรอุทิศตนท ำงำนด้ำนคุณธรรม / จริยธรรม
จากการที่นายสัณหณัฐ สุติยะ มีความชื่นชอบในศิลปวัฒนธรรมล้านนา จึงได้มุ่งมั่นศึกษาและเรียนรู้
ื่
ศิลปวัฒนธรรมล้านนาโดยเฉพาะศิลปะการแสดง เพอที่จะสืบสานด้วยการถ่ายทอดให้เยาวชนในชุมชนได้เรียนรู้
่
้
้
เข้าใจ และภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมของตนเอง เช่น การฟอนดาบ ตบบะผาบ ลายเจิง การฟอนดาบ พนไฟ
และการตีกลองชัยมงคล ตลอดจนการแต่งกายแบบล้านนา เพราะหากเราไม่รักษาแล้ว สักวันหนึ่งองค์ความรู้
ดังกล่าวอาจจะสูญหายไปจากสังคมล้านนา
ชีวิตปัจจุบัน ควำมมุ่งหวัง และสิ่งที่ต้องกำรจะฝำกถึงอนุชนรุ่นต่อไป
ื่
นายสัณหณัฐ สุติยะ มุ่งมั่นที่จะพฒนาตนเองให้มีความช านาญและเชี่ยวชาญ เพอจะได้น าความรู้ดังกล่าว
ั
ไปสืบสานด้วยการส่งต่อองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น “พท าให้ดูน้องท าตาม” ให้กับเยาวชนในชุมชนอย่างเต็มที่
ี่
ั
ด้วยมุ่งหวังให้ทุกคนได้ภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน อนจะน าไปสู่การอนุรักษ์ และการสร้างรายได้
ให้กับตนเองและครอบครัวต่อไป