Page 20 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 20

14


               บทน า

                        การก้าวเข้าสู่ยุคแห่งกระแสโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางการแพทย์ ด้วยการน า
                                                    ั
                               ิ่
               เทคโนโลยีมาใช้เพมขีดความสามารถการพฒนาทางการแพทย์และกระจายการรักษาไปทั่วโลก ส่งผลให้
                                                                                                     ั
               สุขภาพของประชากรในทุกประเทศทั่วโลกเกิดการพฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งประเทศไทยได้มีการพฒนา
                                                              ั
               สาธารณสุขอย่างต่อเนื่องท าให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ดี และมีอายุยืน (กระทรวงสาธารณสุข, 2561, น. 431)
               ท าให้อตราการเพมของจ านวนผู้สูงอายุในปัจจุบันสูงขึ้น มีผลให้จ านวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทย
                     ั
                              ิ่
               เพมขึ้นเรื่อย ๆ ดังจะเห็นได้จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2565 ที่กล่าวว่า ประชากร
                 ิ่
               ผู้สูงอายุของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2565 มีจ านวน 12,116,199 คน คิดเป็น 18.3% ของประชากรทั้งหมด
                                        ิ่
               ของประเทศ ซึ่งมีจ านวนเพมขึ้นจากปีที่แล้ว (พ.ศ. 2564) ถึง 0.5% (Marketeer Team, 2565) ทั้งนี้
               การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุก าลังเป็นประเด็นที่หลายประเทศทั่วโลก

               ให้ความส าคัญ และน ามาซึ่งความท้าทายในหลายมิติ ทั้งการลดลงของจ านวนแรงงานที่อาจส่งผลต่อ
               การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การออกแบบระบบบ าเหน็จและบ านาญ การสร้างความมั่นคงทางการเงิน

               หลังวัยเกษียณ ตลอดจนการพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ล้วนแต่จ าเป็นต้องมีมาตรการและ
                                            ั
               การเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรอบด้าน

                        ส าหรับบริบทสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ปัจจุบันก าลังเปลี่ยนผ่านเป็นสังคมผู้สูงอายุ

               โดยสมบูรณ์ โดยประเทศไทยมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพมขึ้น แต่ในขณะเดียวกันประชากรในวัยแรงงาน
                                                                 ิ่
               กลับมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับประเทศอน ๆ ในภูมิภาคอาเซียน นอกจากนี้ ผู้สูงอายุมีรายได้
                                                              ื่
               เฉลี่ยต่อปีในระดับปานกลางลงล่าง ในขณะเดียวกันค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจะมีสัดส่วนเพมขึ้นชัดเจน สาเหตุ
                                                                                         ิ่
               เนื่องมาจากการเสื่อมสมรรถภาพของร่างกายและความเจ็บป่วย  โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง เช่น เบาหวาน

               มะเร็ง เป็นต้น (Brandside admin, 2564) ทั้งนี้รัฐบาลไทยได้ให้ความส าคัญกับการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคม

               ผู้สูงอายุ และเริ่มออกมาตรการรับมือในด้านต่าง ๆ อาทิ การลดภาษีนิติบุคคลให้แก่สถานประกอบการที่มี
               การจ้างงานผู้สูงอายุ การให้สินเชื่อที่อยู่อาศัยแก่ผู้สูงอายุ (Reverse Mortgage) และการให้เบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ

               เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้บรรจุประเด็นความท้าทายของภาวะสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยในร่าง

               ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560-2579) อย่างไรก็ดี มาตรการเหล่านี้อาจยังไม่สามารถตอบโจทย์ของประเทศไทย
               ได้ทั้งหมด (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2561, น. 85)

                        การก าหนดทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) พบว่า

               ระหว่าง พ.ศ. 2553-2583 กลุ่มผู้สูงอายุวัยกลางและวัยปลายมีแนวโน้มเพมสูงขึ้น และคาดการณ์ว่าจะมี
                                                                                ิ่
               ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพมมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุจ านวนมากยังมีรายได้ไม่เพยงพอในการยังชีพ
                                           ิ่
                                                                                         ี
                                 ิ่
                                                                                       ิ่
               ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพมขึ้นจาก 10.3 ล้านคน (ร้อยละ 16.2) ในปี 2558 จะมีจ านวนเพมขึ้นเป็น 20.5 ล้านคน
               (ร้อยละ 32.1) ในปี พ.ศ. 2583 การเพมขึ้นของผู้สูงอายุวัยกลางและวัยปลายจะส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่าย
                                                 ิ่
                                                                                         ี
               ในการดูแลที่เพมสูงขึ้น แม้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในก าลังแรงงานเพมขึ้นแต่มีรายได้ไม่เพยงพอกับค่าใช้จ่าย
                                                                       ิ่
                             ิ่
               เนื่องจากมีการออมน้อย และแหล่งรายได้หลัก ร้อยละ 78.5 ของรายทั้งหมดมาจากการเกื้อหนุนของบุตร
                                       ั
               (ส านักงานคณะกรรมการพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557, น. 17) ขณะที่จ านวนรวมของ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25