Page 21 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 21

15


                                                                                        ี
               ประชากรประเทศไทยค่อนข้างจะคงตัวจึงท าให้ประชากรในกลุ่มที่เป็นส่วนยอดของพระมิด หรือประชากร
               ผู้สูงอายุมีขนาดใหญ่ขึ้น และ เติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
               มีจ านวน 7.5 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 12 ของประชากรประเทศไทยทั้งหมด (64 ล้านคน) แต่ประชากร

                                                                                             ิ่
                                                     ั
                                ิ่
               กลุ่มผู้สูงอายุจะเพมขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยอตราปีละประมาณร้อยละ 5 ท าให้มีจ านวนเพมขึ้นอกเท่าตัว
                                                                                                  ี
               ประมาณ 15 ล้านคน และในอก 20 ปีข้างหน้า ถึง 30 ปีข้างหน้า คิดเป็นประมาณร้อยละ 27 ของประชากร
                                         ี
               ทั้งหมด จึงสามารถแบ่งประเภทประชากรสูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผู้สูงอายุ
               วัยต้นอายุ 60 – 69 ปี 2) กลุ่มผู้สูงอายุวัยกลาง อายุ 70 – 79 ปี และ 3) กลุ่มผู้สูงอายุวัยปลายอายุ 20 ปี
               ขึ้นไป (กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2559, น. 32) จากแนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพมมากขึ้นดังกล่าว ได้น ามาซึ่งภาวะ
                                                                            ิ่
               เสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุที่เพมขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยแห่ง
                                                        ิ่
               ความเสื่อมถอยในทุก ๆ ด้าน นอกจากการเจ็บป่วยทางร่างกายที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุแล้วยังส่งผลต่อสภาพจิตใจ
               ของผู้สูงอายุด้วย อนเนื่องมาจากผู้สูงวัยจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ทั้งจากภาวะสุขภาพที่เสื่อมถอยลง
                               ั
               การสูญเสียบทบาทหน้าที่ทางสังคม และความวิตกกังวลต่อความตาย สิ่งเหล่านี้ท าให้ผู้สูงอายุรู้สึกไร้คุณค่า
               ไร้ความหมาย แรงจูงใจ หมดซึ่งความกระตือรือร้น ขาดความเชื่อมั่น และความภาคภูมิใจในตนเอง (สุปาณี

               จินาสวัสดิ์, 2559, น. 53)


                        เทศบาลต าบลแม่ปูคา อาเภอสันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้สูงอายุจ านวนมากที่อยู่ในสภาวะ
               ความเป็นอยู่ และการด ารงชีพที่เปลี่ยนไป ประกอบกับประชากรในวัยท างานต้องเข้ามาแสวงหางานท า

                                                                                                     ั
                                                                          ิ่
               ในเมืองใหญ่ จึงท าให้เกิดปัญหาผู้สูงอายุถูกละเลยหรือถูกทอดทิ้งเพมมาก ขึ้นส่งผลกระทบต่อการพฒนา
               คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนพนที่เทศบาลต าบลแม่ปูคา และน าไปสู่ปัญหาด้านคุณภาพชีวิต อาทิ
                                            ื้
               ด้านสุขภาพ ด้านที่อยู่อาศัย การศึกษา รายได้ การได้รับการดูแลจากครอบครัว และสังคม ความปลอดภัย

               ในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งพบว่า สถานการณ์ผู้สูงอายุของเทศบาลต าบลแม่ปูคาในปัจจุบันอยู่ในภาวะวิกฤติ
               อนมีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจที่คนในชุมชนมีรายได้ต่ ากว่าเส้นความยากจน คิดเป็นร้อยละ
                 ั
                                                                               ุ
               83.74 ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตจากเกษตรกรรมมาเป็นอตสาหกรรมที่อยู่ภายนอกชุมชน
               ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรจากครอบครัวขยายมาเป็นครอบครัวเดี่ยว ผู้สูงอายุขาดการดูแล
               ที่ดี และไร้ที่พกพง เกิดปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุจ านวนมากยังมีปัญหาสุขภาพขาดคุณภาพ
                              ิ
                           ั
               ชีวิตที่ดี รวมถึงสวัสดิการผู้สูงอายุที่ยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน โดยรัฐบาลได้ให้ความส าคัญกับผู้สูงอายุ
               ดังจะเห็นได้จากแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐได้เริ่มด าเนินการโครงการ
                                  ั
               และกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ แต่ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ เพราะปัญหาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

               อาจเนื่องมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน (ศูนย์เรียนประเด็นการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ, 2562, น. 2)
                        ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบล

                                                                               ั

               แม่ปูคา อาเภอสันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่ ถึงปัจจัยที่ส่งผลหรือมีความสัมพนธ์กับคุณภาพชีวิตสูงอายุ และ
                                                                       ั
               แนวทางการพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพอประโยชน์ในการพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้ดีขึ้นอย่าง
                            ั
                                                      ื่
               เหมาะสม และสามารถอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26