Page 32 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 32
26
ั
จังหวัดพทลุง พบว่า ผู้สูงอายุในต าบลล าสินธุ์ มีคุณภาพชีวิต อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 48.2
่
ระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ อยู่ในระดับสูง 4 ด้าน ได้แก ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม
และด้านสิ่งแวดล้อม
ความต้องการได้รับการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุในเขตเทศบาลแม่ปูคาโดยภาพรวม
อยู่ในระดับมาก ( = 4.16 , S.D. = 0.58) พบว่า ด้านสุขภาพอนามัย ผู้สูงอายุต้องการได้รับความสะดวก
โดยมีช่องทางพเศษส าหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาล และด้านรายได้ ผู้สูงอายุต้องการได้รับส่วนลดพเศษ
ิ
ิ
ในการใช้บริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการต่าง ๆ ของรัฐ รวมถึงต้องการให้มีการจัดตั้งกองทุนชุมชน
เพอให้การช่วยเหลือผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องผลการศึกษาของ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และคณะ (2561)
ื่
การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุด้อยโอกาส เพื่อลดความเลื่อมล้ าทางสังคม พบว่า สถานการณ์
ความเหลื่อมล้ าของผู้สูงอายุด้อยโอกาส ส่วนมากมีรายได้ต่ ากว่าเส้นความยากจน สวัสดิการที่เข้ามาถึงมาก คือ
เบี้ยยังชีพ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น สิทธิสวัสดิการที่เข้าไม่ถึงและไม่ต้องการ คือ การช่วยเหลือคดีความ และ
สิทธิสวัสดิการที่เข้าไม่ถึงแต่ต้องการ คือ การดูแลจากครอบครัวยามล าบาก และผลวิเคราะห์นโยบายและ
ี
กฎหมาย พบว่า ผู้สูงอายุด้อยโอกาส เข้าไม่ถึงสวัสดิการรัฐอย่างมีประสิทธิภาพ เบี้ยยังชีพไม่เพยงพอ
นโยบายรัฐ การขาดซึ่งการประเมินผลต่อเนื่อง บางสวัสดิการซ้ าซ้อน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องควรมีทบทวน
อย่างต่อเนื่อง
แนวทางที่เหมาะสมในการพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต าบลแม่ปูคาในภาพรวม
ั
อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.22 , S.D. = 0.69) พบว่า ผู้สูงอายุต้องการได้รับความรู้ที่เหมาะสม โดยเฉพาะ
เรื่องที่จ าเป็นกับผู้สูงอายุ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านศาสนา ด้านสวัสดิการที่รัฐให้การสนับสนุน และด้านการเงิน
และการงาน ควรมีการเชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้ด้านอาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและสภาพพื้นถิ่นของชุมชน
รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณส าหรับอาชีพเสริม ซึ่งสอดคล้องกับ Titmuss (อางใน ระพพรรณ ค าหอม,
้
ี
2554, น. 25-26) กล่าวถึงหลักการสวัสดิการสังคม 4 ประการ คือ 1) การจัดสวัสดิการสังคมจะต้องค านึง
ถึงปัญหาหรือความต้องการบริหารหรือความจ าเป็น 2) การใช้มาตรการของงานสวัสดิการจากงานอาชีพ
โดยใช้หลักการครอบคลุมทั้งสากล ให้เฉพาะกลุ่มเป้าหมายก าหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิรับบริการสวัสดิการ
3) การใช้มาตรการบริการสังคม ในฐานะพลเมืองของรัฐ ประชาชนมีสิทธิได้รับบริการสังคมจากรัฐเพอให้
ื่
มีความมั่นคงทางสังคม และ 4) ระบบการจัดการสวัสดิการสังคม 3 ด้าน ได้แก่ การสงเคราะห์ประชาชน
การประกันสังคม และการบริการสังคม และ ลลิลญา ลอยลม (2545, น. 42) ที่ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตของ
ผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีปัจจัยส าคัญ 4 ประการ ได้แก่ ประการที่ 1 การมีความผาสุกทางด้านจิตใจ
(Psychological well-being) หมายถึง การที่บุคคลสามารถประเมินได้ว่าประสบการณ์ในชีวิตที่ผ่านมา
มีคุณภาพ โดยประเมินได้จากผลกระทบระดับความสุขที่ได้รับ และความส าเร็จที่ได้บรรลุตามความต้องการ
หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ ประการที่ 2 ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม (Behavioral competence)
หมายถึง ความสามารถในการท าหน้าที่ของบุคคล ซึ่งรวมถึงการท าหน้าที่ของร่างกาย การมีสุขภาพที่ดีการรับรู้
ที่ถูกต้อง และการพฤติกรรมทางสังคมที่ถูกต้อง ประการที่ 3สิ่งแวดล้อมของบุคคล (Objective