Page 33 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 33
27
environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่มีอทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ได้แก่ 1) สิ่งแวดล้อม
ิ
ทางกายภาพ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศและที่อยู่อาศัย 2) บุคคลที่มีความส าคัญต่อผู้สูงอายุ เช่น สมาชิก
ในครอบครัวหรือเพอน 3) บุคคลอนทั่วไปที่มีปฏิสัมพนธ์กับผู้สูงอายุ 4) สถานภาพทางสังคม อายุ เชื้อชาติ และ
ั
ื่
ื่
เศรษฐกิจ และ 5) สถานภาพสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ และประการที่ 4 การรับรู้
คุณภาพชีวิต (Perceived quality of life) หมายถึง การที่บุคคลมีการประเมินตนเองเกี่ยวกับความผาสุก
ทางด้านจิตใจ ความสามารถในการท าหน้าที่ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่มีอทธิพลต่อบุคคล สรุปได้ว่า ผู้สูงอายุ
ิ
ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี จะต้องมีสุขภาพวะกาย สุขภาพจิตดี ตลอดจนมีสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม
ื้
ที่เอออานวยต่อการด ารงชีวิต ซึ่งโดยบริบทของสังคมไทย คือ การที่ครอบครัว ลูกหลานมีการดูแลและ
เอื้ออาทร ใส่ใจซึ่งกันและกัน (มณฑิตา ศรีพล, 2562, น. 17)
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาเรื่อง การพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเทศบาลต าบลแม่ปูคา
ั
อาเภอสันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อเสนอแนะการน าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
และข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
ข้อเสนอแนะการน าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
1. เทศบาลต าบลแม่ปูคาควรมีการสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ส่งเสริม
การปลูกจิตส านึกในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโดยสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
ื่
2. เทศบาลต าบลแม่ปูคาควรจัดให้มีสถานที่ออกก าลังส าหรับผู้สูงอายุเพอสร้างเสริมสุขภาพ
ของผู้สูงอายุ
3. เทศบาลต าบลแม่ปูคาควรมีการออกแบบสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและในชุมให้เหมาะสม
กับผู้สูงอายุ
4. เทศบาลต าบลแม่ปูคาควรมีการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป
1. นักวิจัยควรมีการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินงานและความรับผิดชอบงานผู้สูงอายุ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. นักวิจัยควรมีศึกษาถึงความพร้อมของผู้สูงอายุในการเตรียมตัวก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
3. นักวิจัยควรมีการศึกษาร่วมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการส่งเสริมคณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ุ