Page 38 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 38

32


               บทน า

                        ประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมประชากรชราภาพ (Ageing population) จ านวนและสัดส่วนผู้สูงอายุ

                                                                               ิ่
                 ิ่
               เพมจ านวนอย่างรวดเร็ว ด้วยอายุขัยเฉลี่ยของประชากรรวมและผู้สูงอายุที่เพมขึ้นตามล าดับ และจากรายงาน
               สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2552 ของมูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) แสดงให้เห็นถึงจ านวน
                                              ี
               ประชากร อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมีเพยง 1.5 ล้านคนหรือประมาณร้อยละ 5.4 ของประชากรทั้งหมดเท่านั้น
               แต่ในปี พ.ศ. 2552 ขนาดของประชากร ตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป ได้เพมเป็น 7 เท่าตัว หรือประมาณ 7.6 ล้านคน
                                                                        ิ่
               ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในชุมชนได้ขยายเป็นวงกว้างในเขตกรุงเทพฯ และ

               ปริมณฑล โดยมีแนวโน้มจะกระจายไปทั่วประเทศโดยสามารถติดต่อจากผู้ที่ติดเชื้อแล้วที่ยังไม่แสดงอาการ

               อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุจ านวนมากต้องการการดูแลจากญาติ หรือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีความจ าเป็นต้องออกไป
                          ื่
               นอกบ้าน เพอท างานหรือไปหาซื้อของกินของใช้เข้ามาในบ้าน จึงมีโอกาสน าเชื้อจากภายนอกมาสู่ผู้สูงอายุ
               อีกทั้งการจ ากัดบริเวณจะส่งผลกระทบกับครอบครัวทั้งในระยะสั้นและระยะยาว จึงมีความจ าเป็นต้องมีแนวทาง

                                                                                          ึ
                                                                  ื่
               ในการดูแลผู้สูงอายุในสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 เพอป้องกันไม่ให้เกิดภาวะไม่พงประสงค์ดังกล่าว
               (กรมอนามัย, 2563)

                       การเข้าร่วมกิจกรรมและความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุเป็นเครื่องมือสื่อสารแบบ

               บูรณาการที่มีความสัมพนธ์กัน เพอประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านร่างกายด้านจิตใจและด้านสังคม
                                    ั
                                            ื่
               ของผู้สูงอายุ ด้วยเหตุนี้การเข้าร่วมกิจกรรมปัญหาการเข้าร่วมกิจกรรม และความต้องการเข้าร่วมกิจกรรม
               ของผู้สูงอายุ จึงเป็นสิ่งจ าเป็นที่ต้องศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยจึงได้ก าหนดปัญหาการวิจัยในครั้งนี้ คือ

               แนวทางการจัดกิจกรรมส าหรับผู้สูงอายุในเขตชุมชนบ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัด

               เชียงใหม่ เนื่องจากในเขตพื้นที่ชุมชนบ้านวังจ๊อม มีผู้สูงอายุเป็นจ านวนมาก ดังนั้นเมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่

               ระบาดโควิด-19 จึงท าให้ผู้สูงอายุไม่สามารถออกมาร่วมกิจกรรมที่มีคนจ านวนมากได้ จากปัญหาข้างต้นส่งผล

               ให้ผู้วิจัยต้องการศึกษาในประเด็น ดังนี้ 1) ปัญหาการเข้าร่วมกิจกรรมด้านใดรวมถึงความต้องการเข้าร่วม
               กิจกรรมส าหรับผู้สูงอายุ 2) รูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมส าหรับผู้สูงอายุในหมู่บ้านวังจ๊อม อาเภอเชียงดาว

               จังหวัดเชียงดาว ทั้งนี้ผู้วิจัยได้เห็นความส าคัญของปัญหาและความต้องการในการจัดกิจกรรม รวมถึงรูปแบบ

                                                                                        ื่
               กิจกรรมที่เหมาะสมส าหรับผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 เพอให้ผู้สูงอายุสามารถ
               ด าเนินกิจวัตรประจ าวันได้อย่างปกติ และยังท าให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมที่เหมาะสมในสถานการณ์การระบาด

               ของไวรัสโควิด-19 เพื่อชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43