Page 42 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 42
36
การอภิปรายผล
1. ปัญหาและความต้องการจัดกิจกรรมของผู้สูงอายุบ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัด
เชียงใหม่ มีปัญหาทางด้านบุคลากร เจ้าหน้าที่ไม่เพยงพอ รวมถึงผู้น านันทนาการมีความรู้ในการจัดกิจกรรม
ี
ไม่เพยงพอ เนื่องจากโรคโควิด -19 ระบาด และผู้น านันทนาการใช้ภาษาที่เป็นทางการมากจนเกินไป
ี
ั
ซึ่งสอดคล้องกบทฤษฎีล าดับความต้องการของ มาสโลว์ (1943 อางใน สมพร ปานยินดี, 2561) ได้กล่าวว่า
้
ผู้สูงอายุสามารถเรียนรู้ได้ก็ต่อเมื่อมีสถานการณ์ที่เอออานวย และปลอดภัย มีบุคลากรที่สื่อสารเข้าใจ และ
ื้
ื่
ั
สามารถสร้างความสัมพนธ์เพอตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ กล่าวคือ ผู้สูงอายุมีความต้องการ
ทางกายภาพ ความต้องการด้านสังคม ความต้องการด้านการเข้าใจและการรู้จักตนเอง การที่ไม่มีผู้น า
นันทนาการท าให้ผู้สูงอายุเกิดความไม่เข้าใจกับผู้น านันทนาการที่ไม่มีมนุษยสัมพนธ์ที่ดี สอดคล้องกับวิจัยของ
ั
สุมลพร ตะน่าน และ ปวิช เฉลิมวัฒน์ (2561) ที่กล่าวว่า ผู้สูงอายุนั้นต้องการให้หน่วยงานรัฐให้ความช่วยเหลือ
ในการจัดกิจกรรม โดยมีผู้น านันทนาการที่สื่อสารได้ดี ในด้านการจัดสวัสดิการต้องให้ทั่วถึงและรวดเร็ว
โดยเฉพาะการส่งต่อในกรณีฉุกเฉินจะสามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง
2. รูปแบบการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัด
เชียงใหม่ มีความเหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรมประเพณี และศาสนา ในช่วงที่เกิดสถานการณ์โรคระบาดโควิด -
ั
19 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีกิจกรรมที่เหมาะสมส าหรับผู้สูงอายุของ กระทรวงการพฒนาสังคม และ
ความมั่นคงของมนุษย์ (2547) กล่าวว่า การบริการการศึกษา ศาสนา และการให้ข้อมูลข่าวสาร
ที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ประกอบกับ
ั
การที่ประเทศไทยก าลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในอนาคตอนใกล้นี้จ านวนผู้สูงอายุในแต่ละครัวเรือน
ั
จะมีมากกว่าคนวัยท างาน ท าให้มีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพฒนาผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกบงานวิจัยของ
ั
ปรีดาภรณ์ ดวงใจดี และคณะ (2560) กล่าวว่า รูปแบบการจัดกิจกรรมนันทนาการส าหรับผู้สูงอายุ ได้ค านึงถึง
สภาพสถานการณ์ และความปลอดภัยของการจัดกิจกรรมนันทนาการส าหรับผู้สูงอายุ มีการจัดพนที่ไว้
ื้
ให้บริการส าหรับผู้สูงอายุในการท ากิจกรรมนันทนาการ