Page 43 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 43

37


               ข้อเสนอแนะ

                        จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่มีต่อการท าวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็น
               ประโยชน์ต่อการศึกษาความต้องการของผู้สูงอายุในสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 บ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว

               อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และการศึกษาครั้งต่อไป ดังนี้


                        ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้
                        1. ชุมชนบ้านวังจ๊อมสามารถน าผลวิจัยไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมของผู้สูงอายุในสถานการณ์การแพร่

               ระบาดโควิด-19 บ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

                        2. ชุมชนบ้านวังจ๊อมสามารถน าผลการวิจัยไปใช้สร้างองค์ความรู้ด้านการจัดกิจกรรมประโยชน์

               เชิงสาธารณะโดยให้แก่ผู้สูงอายุในสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 บ้านวังจ๊อม ต าบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว

               จังหวัดเชียงใหม่


                        ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป


                        นักวิจัยควรศึกษารูปแบบกิจกรรมตามความต้องการของผู้สูงอายุ โดยทดลองใช้กับพนที่หมู่บ้านในอาเภอ
                                                                                          ื้
               เชียงดาว และศึกษาในลักษณะกรณีศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นช่วงของ
                                   ื่
               สถานการณ์โควิด-19 เพอเพมศักยภาพในการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและน าไปสู่การเป็นผู้สูงอายุ
                                      ิ่
               ที่มีคุณภาพ



               เอกสารอ้างอิง

               กรมอนามัย. (2563). ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี. นนทบุรี: ส านัก
                        อนามัย  ผู้สูงอายุ.

               กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2547). ทฤษฎีกิจกรรมที่เหมาะสมส าหรับผู้สูงอายุ
                            ั
                        (รายงานผลการวิจัย). ชลบุรี: ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3.

               เกศินี จุฑาวิจิตร. (2557). ผู้สูงอายุและสัมพนธภาพกับครอบครัว (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ:
                                                        ั
                        มหาวิทยาลัยรามค าแหง.
                                                  ั
               ปรีดาภรณ์ ดวงใจดีและคณะ. (2560). การพฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมนันทนาการส าหรับผู้สูงอายุสภาพและ
                        และความต้องการการจัดกิจกรรมนันทนาการส าหรับผู้สูงอายุ. วารสารศาสตร์การศึกษาและการ
                        พัฒนามนุษย์, 2(2), 113-120.

                                       ิ
               สมพร ปานยินดี. (2561). อทธิของศักยภาพในการท างาน การสนับสนุนทางสังคมพฤติกรรมการดูแลตนเอง
                        และการเห็นคุณค่าแห่งตนที่มีผลต่อความพร้อมในการท างานหลังเกษียณของผู้สูงอายุ
                        ในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48