การประชุมวิชาการระดับชาติ

ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ครั้งที่ 1

“คัมภีร์ใบลาน พับสา และเอกสารโบราณ : ทุนทางวัฒนธรรมสู่ Soft Power”
2 ธันวาคม 2567 โรงแรมเมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่
3 ธันวาคม 2567 วัดเชียงโฉม (เจดีย์ปล่อง) จังหวัดเชียงใหม่
ผู้เข้าร่วมงาน
ผู้นำเสนอผลงาน
บทความตีพิมพ์
วัน

เกี่ยวกับงาน

ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 1 เนื่องด้วยสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้จัดประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ "คัมภีร์ใบลาน พับสา และเอกสารโบราณ: ทุนทางวัฒนธรรมสู่ Soft Power" เพื่อเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานการวิจัยและผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ สืบสาน และการต่อยอดองค์ความรู้จากคัมภีร์ใบลาน พับสา และเอกสารโบราณ รวมถึงเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมและผลักดันองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับคัมภีร์ใบลาน พับสา และเอกสารโบราณ สู่การสร้างสรรค์ซอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) ในฐานะทุนทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่อไป กิจกรรมจัดขึ้นในวันที่ 2 – 3 ธันวาคม 2567 ประกอบด้วย การบรรยายพิเศษ และการนำเสนอผลงานการวิจัยและวิชาการ การศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมใบลานในพื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ การสาธิตทางวัฒนธรรม การแสดงศิลปวัฒนธรรม และตลาดวัฒนธรรมโดยชุมชน

ประเภทการนำเสนอผลงาน

  • การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
  • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์ (Poster Presentation)

สาขาที่เปิดรับ

  • ผลงานวิชาการหรืองานวิจัยทุกศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ คัมภีร์ใบลาน พับสา และเอกสารโบราณ

จะเริ่มในอีก

ประกาศ


กำหนดการ

1 ก.ย. 67

เปิดรับสมัครส่งบทคัดย่อ (Abstract)

เว็บไซต์ CACLD

30 ก.ย. 67

วันสุดท้ายรับบทคัดย่อ (Abstract)

เว็บไซต์ CACLD

4 ต.ค. 67

ประกาศผลการพิจารณา

เว็บไซต์ CACLD

31 ต.ค. 67

วันสุดท้ายรับบทความฉบับเต็ม (Full paper)

เว็บไซต์ CACLD

20 พ.ย. 67

วันสุดท้ายการส่งบทความฉบับสมบูรณ์

เว็บไซต์ CACLD

2–3 ธ.ค. 67

วันประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน

โรงแรมเมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่ และวัดเชียงโฉม (เจดีย์ปล่อง) จ.เชียงใหม่

กุมภาพันธ์ 68

การเผยแพร่ Proceeding Online

วารสารข่วงผญา

08.30 – 09.00 น.

ลงทะเบียน

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

09.00 – 09.15 น.

พิธีเปิดการประชุมวิชาการ

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

09.15 – 09.30 น.

การแสดงเปิด

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

09.30 – 10.00 น.

พิธีมอบประกาศนียบัตร หน่วยงานร่วมการจัดการประชุมวิชาการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

การปาฐกถาพิเศษ “จากตำนาน เรื่องเล่า สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์”

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
ประธานศูนย์สยามทรรศน์ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การปาฐกถาพิเศษ “ไม่เลือนหาย กลับฟื้นกาย ด้วยสร้างสรรค์”

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
ผู้อำนวยการสถาบันศิลปวัฒนธรรมและอารยธรรมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

12.00 – 13.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

โรงแรมเมอร์เคียว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

13.00 – 16.00 น.

การนำเสนอผลงาน กลุ่ม 1 รูปแบบบรรยาย

ห้องประชุมเจนีวา โรงแรมเมอร์เคียว

การนำเสนอผลงาน กลุ่ม 2 รูปแบบบรรยาย

ห้องประชุมปารีส โรงแรมเมอร์เคียว

การนำเสนอผลงาน กลุ่ม 3

ห้องประชุมเจนีวา โรงแรมเมอร์เคียว

09.00 – 12.00 น.

การศึกษา “นิทรรศน์หอไตรล้านนา”

วัดในเขตเมืองจังหวัดเชียงใหม่

12.00 – 13.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน ตามอัธยาศัย

13.00 – 17.00 น.

การศึกษา “นิทรรศการใบลาน”

อาคารเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

17.00 – 18.00 น.

นิทรรศการ “เวียงบัว เชียงโฉม เจดีย์ปล่อง : แหล่งเรียนรู้ชุมชนจากเอกสารโบราณ”

วัดเชียงโฉม ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

การสาธิตภูมิปัญญาท้องถิ่น (Workshop)

ตลาดนัดวัฒนธรรม

18.00 – 18.30 น.

พิธีเปิด “เทศกาลศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 1”

วัดเชียงโฉม ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

18.00 – 19.30 น.

การแสดงศิลปวัฒนธรรม

วัดเชียงโฉม ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

19.30 – 20.00 น.

สรุปผลโครงการและกล่าวปิด

วัดเชียงโฉม ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

องค์ปาฐก

รศ.ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
ประธานศูนย์สยามทรรศน์ศึกษา
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ.ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
ผู้อำนวยการสถาบันศิลปวัฒนธรรมและอารยธรรมลุ่มน้ำโขง
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ผู้เข้าร่วมการประชุม

ชื่อ-สกุล สังกัด
นายศาสตราจารย์ปฏิบัติ ดร.เอกชัย มหาเอก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาวศรีจันทร์ ฟูใจ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่
นางสาววรรณภา ศรีอ่อน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่
ดร.ณัฐปาลิน นิลเป็ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว คณะ ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
นางปัณณภัสร์ วัชรวิไชยศรี ผู้สนใจ
ผศ.ดร.พระมหาสกุล มหาวีโร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ว่าที่ ร.ต.รุ่งโรจน์ อุดมไชยโรจน์ ศูนย์ศึกษาเอกสารโบราณ
ผศ. ดร.วรรณิดา ถึงแสง คณะมนุษย​ศาสตร์​และ​สังคมศาสตร์​
นายอัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรชาติ พุทธิมา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พระปุญญพัฒน์ เตชะตน วัดราษฎร์เจริญ
นางสาวอารีรัตน์ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวชุลีพร ภักดิ์ดุษดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวศุภานันท์ ผดุงพรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวกรวิกา หอมดอก สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวนิสา เชยกลิ่น ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
นางสาวศุภาพิชญ์ อุคำพันธ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
นางสาวอัญชุรีย์ จายหลวง -
นายจุลนิตย์ วังวิวัฒน์ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
นายศุภกรณ์ คำฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวจีรภา สิทธิวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นายณัฐนนท์ มูลเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
นางสาวปภาดา สุทธิพรมณีวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวกมลทิพย์ แก้วชัยสูน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวนันทนัท สุขคำนึง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
นางปนัดดา จีนประชา มหาวิทยาลัยการกีฬาเเห่งชาติ วิทยาเขตเชียงใหม่
นางสาวธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
นางสาวอุไรพร ดาวเมฆลับ ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยปฐมพร ธนพัฒน์ปวงวัน ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มทร.ล้านนา
นางสาวทิน อ่อนนวล ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
นายศักดิ์นรินทร์ ชาวงิ้ว ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มทร.ล้านนา
นางสาวพัชราภรณ์ นักเทศน์ -
นายสุรชัย จงจิตงาม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาววรัณทร กองมณี ราชภัฏเชียงใหม่
นางจุติณัฏฐ์ วงศ์ชวลิต วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
นายสุรพงษ์ หรรษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตเชียงใหม่
นางทัศนีย์ สุรวิชัย ไม่มี
นายสุนทร คำยอด คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
นายอาทิตย์ จิตศรัทธาพุทธ เทศบาลตำบลเหมืองจี้
นางสุชาดา เมฆพัฒน์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
นายพิธากรณ์ ธนิตเบญจสิทธิ์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
นางชโรชีนีย์ ชัยมินทร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
อาจารย์ ดร.สุจิรา อัมรักเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
อ.ดร.ณกานต์ อนุกูลวรรธกะ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวทัศวรรณ ธิมาคำ สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางรศ.ดร.สุชานาฏ​ สิตานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์​ มรภ.เชียงใหม่
นายบัณฑิต วิจิตราพรพรรณ บุคคลทั่วไป
ดร.เชิดชาติ หิรัญโร สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
นางสาวสุมนา วิสารทสกุล Collective Learning Lab
นางสาววิชชุดา สุริยะ แม่กาหลวงโฮมสเตย์
นางเอื้อมพร ทิพย์เดช คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
นายบัณฑิต ทิพย์เดช คณะศิลปศาสตร์ มหลวิทยาลัยพะเยา
นางอรุณพร อิฐรัตน์ ศูนย์ความเป็นเลิศทางการวิจัยแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นางบุญเจริญทิพย์ คุ้มสุข บุคคลทั่วไป
นางอุมากร ธรรมยา บุคคลทั่วไป
นางนิรมล วิบูลย์วัฒนกิจ บุคคลทั่วไป
นางสาวอาภานาฏ กิตติผลบุญ บ้านเรียนกิรณา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่
นางสาวกิรณา ลี บ้านเรียนกิรณา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่
นายศรัณย์ ลุงหลู่ คณะศิลปกรรม สาขาดิจิทัลกราฟิก วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่
นายสิทธิชัย พันชน สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
นายทศพร ทองคำ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย
นางสาวกัญญาวีร์ ดีหล่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นายณัฐวุฒิ แสงพันธ์ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางสาวตุลาภรณ์ แสนปรน คณะมนุษยศษสตร์และสังคมศาสตร์ ม ราชภัฏลำปาง
นางพวงผกา ธรรมธิ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
นายสนั่น ธรรมธิ -
นายจิตร์ กาวี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นายสงกรานต์ สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นายมูหำหมัด สาแลบิง หลักสูตรภาษามลายู คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
นางสาวอภิญญา วิบูลย์วัฒนกิจ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบันฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นายยูเนียนสาสมีต้า สาเมาะ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษามลายูและมลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
นายTom Thuna -
นายวุฒินันท์ สุพร สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
นายชวนากร จันนาเวช สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายภูวดล อยู่ปาน สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายนิพล สายศรี สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายวัชระ พิมพ์จันทร์ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
พระปกรณ์ ชินวโร (ปุกหุต) พิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม จังหวัดอุบลราชธานี
นางสาวถิรวรรณ ศรีรัตนโชติชัย สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพ
นายกังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
นายบรรจง บุรินประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
นายดอกรัก พยัคศรี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
นายคณปกรณ์ จันทร์สมบูรณ์ -
นางสาวอรวรรณ เชื้อน้อย มรภ.จันทรเกษม
นางสาวดร.พัทธนันท์ รัตนวรเศวต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ดร.วารดา พุ่มผกา คณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
นายชาญคณิต อาวรณ์ -
นายกัมพล มะลาพิมพ์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี
นายศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางสาวอาภรณ์ ถิรกันต์ สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
นางสาวฤดีดาว​ พร​พฤฒิ​พงศ์​ สำนักงาน​สาธารณสุข​จังหวัด​สุโขทัย​
นางสาวปารณีย์ พูนศิริชัยกิจ
นางหลายพัฒน์ มศว
นายวุฒิภัทร เกตุพัฒนพล กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ม.แม่โจ้
นายภูเดช แสนสา หอปั๊บราชสมภาร เวียงเชียงเหล็ก
นายจเร แสงเงิน นักวิจัยอิสระ
นางบุษยมาศ แสงเงิน นักวิจัยอิสระ
นางสาวสุมลทรา พ้นเวร นักวิจัยอิสระ
นายภัครพล แสงเงิน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
นายโกสิต ศรีโนรินทร์ งานเอกสารโบราณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายวัชรพงศ์ วงศ์วีระพันธุ์ โรงเรียนประชาราชวิทยา
นายไว ชึรัมย์ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์
พระมหาถนอม อานนฺโท วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์
พระมหาพจน์ พยัคฆ์พิทยางกูร วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
นายวิชญา มาแก้ว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นางสาววาทินี คุ้มแสง คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏเชียงใหม่
นางสาวปลินดา ระมิงค์วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นายกิติเกษม เนตรกระจ่าง สพป.เชียงใหม่ เขต 5
นางสาวสายชล ชัยชนะ สำนักรักษ์โบราณคดี พระอภัยสาระทะ
นายวันชัย พลเมืองดี มจร.พะเยา

ผู้ส่งบทความ

ชื่อ-สกุล สังกัด หัวข้อ รูปแบบการนำเสนอ
นายวิชญา มาแก้ว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์สังคมจากบันทึกคำตัดสินคดีสมัยราชวงศ์มังราย: กรณีศึกษาธรรมเนียมการแต่งงานและการแบ่งมรดก การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายณัฐวุฒิ แสงพันธ์ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อานิสงส์บวชฉบับธาราทองการพิมพ์: การสืบทอดและการผลิตซ้ำวรรณกรรมอานิสงส์บวชในสังคมไทยร่วมสมัย การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางสาวตุลาภรณ์ แสนปรน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง ผ้าห่อคัมภีร์ใบลานกับการสร้างทุนทางวัฒนธรรม การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางพวงผกา ธรรมธิ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง “พิธีเรียกขวัญ” ในฐานะทุนวัฒนธรรม การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายจิตร์ กาวี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปิติวรรณกรรม: การดนตรีสยามผ่านต้นฉบับเอกสารพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายสงกรานต์ สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คำเอากลองปู่จาเข้าวัดของพระครูสังวรญาณ: ดนตรีล้านนาและความทรงจำของสล่ากลองบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายมูหำหมัด สาแลบิง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การศึกษาคำศัพท์ภาษาอาหรับในตำราการแพทย์มลายูศตวรรษที่ 19: การสืบทอดภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมสู่ซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power) การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางสาวอภิญญา วิบูลย์วัฒนกิจ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบันฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การศึกษาประวัติความเป็นมา และวิเคราะห์ตำรับยาจากตำราพระร่วง จังหวัดสุโขทัย การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายนิพล สายศรี สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แนวอยู่แนวกินอีสาน ในใบลานเรื่องพญาคำกองสอนไพร่ การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายชวนากร จันนาเวช สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โลกทัศน์ชาวอีสานที่ปรากฏในกฎหมายโบราณ ผ่านการจัดการทรัพย์สินส่วนบุคคลและสาธารณสมบัติ การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
พระปกรณ์ ชินวโร (ปุกหุต) พิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม จังหวัดอุบลราชธานี การสำรวจและจัดระบบเอกสารโบราณวัดศรีสะอาด อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย : ประสบการณ์ภาคสนามครั้งแรกของกลุ่มเล่าเรื่องเมืองเลย การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางสาวถิรวรรณ ศรีรัตนโชติชัย สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี “ผี” ในเอกสารเก่าของชาวชอง อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายกังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่องของ “กู” ในมนต์อาคมและคาถาทางไสยศาสตร์ การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายบรรจง บุรินประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สุนทรียศาสตร์ทางภาษาในที่ว่าราชการเมืองโกสุมภิไสย์ ร.ศ.117 - 119 การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายดอกรัก พยัคศรี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลเวลาจากบันทึกผู้เขียนในคัมภีร์ใบลานไทยยวน วัดใหม่นครบาล จังหวัดราชบุรี การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายคณปกรณ์ จันทร์สมบูรณ์ - ปถมมูลลกัมมัฏฐาน : การวิเคราะห์ลักษณะการใช้นิทานเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติกรรมฐานตามแนวทางของอภิชัยขาวปี การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร บทถาหาเงิน: หนังสือลายแทงในเอกสารใบลาน การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางสาวอรวรรณ เชื้อน้อย มรภ.จันทรเกษม คัมภีร์ใบลาน : การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสงวนรักษา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายกัมพล มะลาพิมพ์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี แกงยา : อาหารเป็นยาในจารึกคัมภีร์แพทย์แผนไทย การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายทรงพล เลิศกอบกุล หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ฉากทัศน์วัฒนธรรมดนตรีถิ่นใต้จากหนังสือบุดเรื่องเต่าทอง คำกาพย์ ฉบับบ้านคลองจูด การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จารึกวัดพระยืน : รูปแบบอักขรวิธีไทยและความเป็นอัครศาสนูปถัมภกของพระเจ้ากือนา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นางสาวอาภรณ์ ถิรกันต์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การนับตัวเลขในภาษาไทลื้อสิบสองปันนาใหม่ กรณีศึกษาจากในหนังสือเรียนไทลื้อสิบสองปันนา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายภูเดช แสนสา หอปั๊บราชสมภาร เวียงเชียงเหล็ก หอปั๊บราชสมภาร : พันธกิจด้านเอกสารโบราณกับการพัฒนาท้องถิ่น การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายภัครพล แสงเงิน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำรับยาอายุวัฒนะจากตำรายาแพทย์แผนไทยของจังหวัดพิษณุโลก การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายโกสิต ศรีโนรินทร์ งานเอกสารโบราณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ยันต์นวภา : ความเหมือนที่แตกต่างระหว่างอีสานและล้านนา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใบลานมูลนิพพาน : การแพร่กระจายแนวคิด “สุขพาวเวอร์ที่ยั่งยืน” ของผู้คนภาคอีสานในอดีต การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
พระมหาพจน์ พยัคฆ์พิทยางกูร วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สาเหตุการจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน ณ อาลุวิหาร ประเทศศรีลังกา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)
นายวิทยา บุษบงค์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ การวิเคราะห์ตำรับยาพื้นบ้านที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบของสมุดฝรั่ง จังหวัดสงขลา การนำเสนอด้วยการบรรยาย (Oral Presentation)

สถานที่จัดงาน

เมอร์เคียว เชียงใหม่

โรงแรมตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับ 2 ของประเทศไทย และห่างจากสนามบินเพียง 10 นาที โรงแรมเมอร์เคียว เชียงใหม่ มีห้องพักที่สะดวกสบาย พร้อม WIFI ฟรีสำหรับการเข้าพักเพื่อติดต่อธุรกิจหรือเพื่อการพักผ่อน ท่านสามารถจัดการประชุม สัมมนา และกิจกรรมต่างๆ ในห้องประชุมของเราซึ่งรองรับผู้เข้าร่วมงานได้สูงสุดถึง 600 คน พร้อมที่จอดรถ ห้องอาหารและบาร์ที่บริการอาหารหลากหลายเมนูให้ท่านเลือกลิ้มลองท่ามกลางบรรยากาศที่ผ่อนคลาย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีซูเปอร์มาร์เก็ตและธนาคารอยู่ติดกับโรงแรมอีกด้วย

เดินทางโดยเครื่องบินโดยสาร

รถรับ ส่งสนามบิน ราคา 200.- บาท/ท่าน/เที่ยว

เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว

ดูแผนที่ Google Maps →
รายละเอียดห้องพัก

ห้องพักรวมอาหารเช้า

ห้องสแตนดาร์ด 1,200.- บาท/คืน

ห้องซูพีเรีย 1,400.- บาท/คืน

ห้องดีลักซ์ 1,600.- บาท/คืน

จองห้องพัก โทร. 053 225 500 →

หมายเหตุ

- ห้องพักขนาด 32 ตรม.
- ราคาดังกล่าวรวมอาหารเช้าแบบบุฟเฟ่ต์สูงสุด ห้องละ 2 ท่าน
- เวลาเช็คอินน์ 14.00 น. เช็คเอาท์ 12.00 น. เช็คอินน์ก่อนเวลา ขึ้นอยู่กับห้องว่าง ณ วันดังกล่าว
- ที่จอดรถกว้างขวางสะดวกสบายสามารถจอดรถบัสและรถส่วนตัวได้มากกว่า 200 คัน
- TOPs Market อยู่ในบริเวณเดียวกัน , ใกล้ตลาดสด, ร้านอาหาร, ธนาคารต่างๆ
- ที่ตั้งของโรงแรมติดถนนสายหลัก เดินทางไปยังสถานที่จัดงานได้อย่างสะดวกสบาย

ดูข้อมูลโรงแรม

เครือข่าย

ติดต่อเรา

ที่อยู่:

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อาคารเทพรัตนราชสุดา ชั้น 1 เลขที่ 202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300

อีเมล:

culture@cmru.ac.th