Page 76 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 76
๗๐
69
การอภิปรายผล
1. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
จากการศึกษาสาขาและด้านของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา จ านวน 210 คน พบว่า
เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เป็นบุคคลที่มีความรู้ที่หลากหลายทางวัฒนธรรม และมีความโดดเด่น
เป็นอัตลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น โดยเป็นความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ซึ่งสอดคล้องกับ
้
แนวคิดของ Nonaka & Takeuchi (อางใน ชวลิต คงแก้ว, 2560) ระบุว่า ความรู้แบ่งออกเป็น
2 ประเภท ได้แก่ ความรู้ที่แจ้งชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถถ่ายทอดได้ และความรู้
ื่
ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) เป็นความรู้เฉพาะตัว ยากที่จะถ่ายทอดให้กับผู้อนได้ง่าย ซึ่ง
ึ่
ความรู้ทั้งสองเป็นสิ่งที่แยกออกจากกันไม่ได้ ต้องพงพาอาศัยกัน ซึ่งความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลอาจสูญ
หายไปกับบุคคลนั้นได้ หากไม่มีการรวบรวมหรือถ่ายทอดออกมา (ปิยะนุช เรืองโพน, 2564)
โดยสามารถจัดประเภทองค์ความรู้ของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เพอน าไปจัดท าฐานข้อมูลส าหรับ
ื่
ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เป็น 10 ประเภท ได้แก่ 1) ภาษา 2) การขับขานเพลงซอ
3). ดนตรีและนาฏศิลป์ 4) ภูมิปัญญาเชิงช่าง 5) การส่งเสริมและเผยแพร่องค์ความรู้ 6) ภูมิปัญญา
ิ
ื้
ั
สร้างสรรค์ 7) การพฒนาสังคม 8) การจัดการพพธภัณฑ์พนถิ่น 9) การแพทย์และสมุนไพร และ
ิ
ิ
ื้
10) อน ๆ เช่น ศาสนพธี การจัดการพพธภัณฑ์พนถิ่น เป็นต้น จะเห็นได้ว่าองค์ความรู้ของเพชรราชภัฏ
ื่
ิ
ิ
ั
– เพชรล้านนา มีทั้งองค์ความรู้ที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ซึ่งสอดคล้องกับ พชรินทร์ สิริสุนทร
(2550) ที่ได้จ าแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ ภูมิปัญญาที่เป็นนามธรรม ได้แก่ ความเชื่อ แนวคิด
ค่านิยม ปรัชญาการด าเนินชีวิต และภูมิปัญญาที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ เครื่องดนตรี ศิลปหัตถกรรม
อปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ในชีวิตประจ าวัน ทั้งนี้ การพฒนาระบบสารสนเทศข้อมูลเพชรราชภัฏ –
ุ
ั
เพชรล้านนา จะน าไปสู่ระบบการท างานในรูปแบบใหม่ ด้วยการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
ในการเก็บข้อมูล การประมวลผล การน าเสนอ และการเผยแพร่ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกบแนวคิดของ
ั
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี (2550) คือ การจัดการความรู้เป็นการค้นพบความรู้
ความช านาญที่แฝงเร้นในตัวคน (Tacit Knowledge) และดึงความรู้ดังกล่าวออกมาเพอแลกเปลี่ยน
ื่
เรียนรู้ และท าให้ง่ายต่อการน าไปใช้ รวมถึงการพัฒนาต่อยอด ซึ่งเป็นการน าความรู้ใหม่ และความรู้เก่า
มาบูรณาการเกิดเป็นความรู้ใหม่ ๆ หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ และจากการศึกษาความต้องการของ
เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา พบว่า ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา จะเป็นสื่อการเรียนรู้
ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและผู้บริหารท้องถิ่นสามารถน าข้อมูลดังกล่าวไปวางแผนการด าเนินงาน
เพอพฒนาชุมชนชองตน ตลอดจนการพฒนา ต่อยอดองค์ความรู้ด้วยการเพมมูลค่าและรักษาไว้ซึ่ง
ั
ิ่
ื่
ั
มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนอย่างยั่งยืน รวมถึงเป็นการเผยแพร่ผลงานเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
ให้แพร่หลายในวงกว้าง ท าให้ผู้สนใจเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ท าให้เยาวชนได้เห็น
ตัวอย่างของการพัฒนาสร้างสรรค์เพอรักษาไว้ซึ่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาของท้องถิ่น และตั้งใจที่จะกระท า
ื่
่
ื่
ทุกอย่างด้วยการเดินตามรอยของพอครูแม่ครู ด้วยเห็นถึงผลของการตั้งใจท าเพอที่จะรักษาองค์ความรู้