Page 121 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 121

ชื่อผลงำน ฟ้อนวีหริภุญไชย


                             แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน

                                                                                                         ้
                            นายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา ผู้ประดิษฐ์ฟอนวีหริภุญไชย เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างผลงานฟอนวี
                                                             ้

               หริภุญไชยว่า วีใบตาลโบราณ เป็นภูมิปัญญาของบ้านรั้ว-ทุ่ง ต าบลหนองหนาม อาเภอเมือง จังหวัดล าพน
                                                                                                           ู
                                                    ั
               มีการสืบทอดศิลปะการท าวีใบตาลโบราณอนสวยงามมาตั้งแต่ยุคสมัยบรรพบุรุษรุ่นสู่รุ่นถึงคนรุ่นหลังสู่ยุคสมัย
                                                                                                         ั
                                                        ู
               ปัจจุบัน ในอดีตบรรพบุรุษของลูกหลานคนล าพน ได้น าวีใบตาลโบราณมาใช้เป็นของใช้ส่วนตัว ใช้โบกพดให้
               ความเย็นแก่ตนเองและผู้อยู่ใกล้ชิด หลักฐานที่เห็นได้ชัดเจน คือ ในยุคสมัยครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา
               เมื่อยังมีชีวิตอยู่ก็ได้ใช้วีใบตาลโบราณ เป็นเสมือนของใช้ส่วนตัวมาโดยตลอด ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงเป็นที่มาของ
               ฟ้อนวีหริภุญไชย


                             เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน

                             ๑) สืบค้นหาเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ ที่มีแต่การบรรเลงท านองเพลง จังหวะพื้นเมือง ไมมีเนื้อร้องบอก
                                                                                                  ่
               ถึงความไพเราะเร้าใจ ฟังแล้วสะกิดใจ มีความอยากจะฟอน
                                                             ้
                             ๒) ค้นหาเพลงใน YouTube พบเพลงแหย่งหละปูน ไม่มีหลักฐานข้อมูล ลิขสิทธิ์เป็นของ หจก.

               สหกวงเฮงแผ่นเสียงเทป และอนุญาตให้เผยแพร่ได้ผ่านทางยูทูปของ หจก.สหกวงเฮงแผ่นเสียงเทป
               โดยไม่เรียกร้องค่าตอบแทน ไม่ด าเนินคดีตามกฎหมาย และสามารถแชร์ได้

                                  ั
                             ๓) เปิดฟงแหย่งหละปูนแล้ว บอกได้ว่าเป็นเพลงที่บ่งบอกความรู้สึกเข้าใจถึงบรรยากาศของท้องถิ่น
               เมืองหละปูน ถูกใจ และประทับใจ จึงตัดสินใจใช้เพลงเพลงแหย่งหละปูนมาประกอบการฟ้อนวีหริภุญไชย

                             ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
                                                                                               ้
                             ๑) น าเพลงแหย่งหละปูน มาก าหนดรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนวีหริภุญไชย
               ให้ได้ครบจบเพลงพอดี
                             ๒) คิดท่าฟอนและเลือกท่าฟอนที่มีความหมายจากท่าฟอนพนเมืองและท่าร าแม่บทของร าไทย
                                                                           ้
                                                                               ื้
                                    ้
                                                    ้
                                                                        ้
               มาผสมผสานกันให้สอดรับกับรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนวีหริภุญไชย ให้ได้ครบจบเพลงพอดี
                             ๓) ก าหนดชื่อท่าฟอนร้อยเรียงให้มีความไพเราะกลมกลืน จ าง่าย มีความหมายตรงกับท่าฟอน
                                           ้
                                                                                                          ้
                                                                            ้
               ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ความว่า วีใบตาล รูปทรงงาม สิบสานศิลป์ ชุมนุมฟอน ระลึกคุณ ผู้ทรงค่า ล้วนศักดาบารมี
               ทั่วล้านนา ขอบูชา ทุกทิศา จิตอ าไพ
                             ๔) ฝึกฟอนวีหริภุญไชยด้วยตนเอง ตามชื่อท่าฟอนที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง
                                                                  ้
                                  ้
               ฝึกฟ้อนวีหริภุญไชย ให้คล่องแคล่วจ าได้แม่ย า

                             ๕. น าฟอนวีหริภุญไชยที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ฝึกให้ทีมวิทยากร จ านวน ๘ คน ฟอนจนสามารถจ าได้
                                 ้
                                                                                             ้
               อย่างถูกต้อง แล้วประเมินผลความถูกต้องตามที่คิดประดิษฐ์ไว้ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง





                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   117
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126