Page 123 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 123

ชื่อผลงำน ฟ้อนบุปผามาลัย


                             แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน

                             นายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา ได้รับแรงบันดาลใจจากผู้หญิงชาวล้านนา ที่น าดอกไม้กลิ่นหอม
               มาร้อยเป็นพวงมาลัยด้วยงานฝีมือประณีตสวยงาม น าไปถวายเป็นพทธบูชา ถวายแด่เจ้านายผู้สูงศักดิ์ และน าไป
                                                                        ุ
               กราบไหว้ญาติผู้ใหญ่ บิดา มารดา ผู้มีพระคุณด้วยความรักและเคารพ สืบทอดกันมาถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุผล
               ดังกล่าว จึงเป็นที่มาของฟ้อนบุปผามาลัย


                             เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน

                                                                                                  ่
                             ๑) สืบค้นหาเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ ที่มีแต่การบรรเลงท านองเพลง จังหวะพื้นเมือง ไมมีเนื้อร้องบอก
                                           ิ
                                                             ้
               ถึงความไพเราะเร้าใจ ฟังแล้วสะกดใจ มีความอยากจะฟอน
                             ๒) ค้นหาเพลงใน YouTube พบเพลงทิพย์วิมานล้านนา ของครูขวัญชัย พิพัฒน์พงษ์ ศรีคีตกรหริทาส
                                                                             ้
               ฟังแล้วถูกใจ ประทับใจ ตกลงใจใช้เพลงทิพย์วิมานล้านนามาประกอบการฟอนบุปผามาลัย
                                                                                       ั
                             ๓) ประสานขออนุญาตใช้เพลงทิพย์วิมานล้านนากับครูขวัญชัย พพฒน์พงษ์ ศรีคีตกรหริทาส
                                                                                      ิ
                                                                                       ้
               ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี และอนุญาตให้ใช้เพลงทิพย์วิมานล้านนามาประกอบการฟอนบุปผามาลัยได้

                             ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน

                             ๑) น าเพลงทิพย์วิมานล้านนา มาก าหนดรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนบุปผามาลัย
                                                                                                ้
               ให้ได้ครบจบเพลงพอดี

                                    ้
                                                                            ้
                                                    ้
                             ๒) คิดท่าฟอนและเลือกท่าฟอนที่มีความหมายจากท่าฟอนพนเมืองและท่าร าแม่บทของร าไทย
                                                                                ื้
                                                                        ้
               มาผสมผสานกันให้สอดรับกับรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนบุปผามาลัย ให้ได้ครบจบเพลงพอดี
                                                                                                          ้
                                           ้
                             ๓) ก าหนดชื่อท่าฟอนร้อยเรียงให้มีความไพเราะกลมกลืน จ าง่าย มีความหมายตรงกับท่าฟอน
               ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ จังหวะช้า ความว่า งามบุปผา พวงมาลัย หอมกลิ่นไกล ร้อยบูชา องค์ศักดา บารมี ศรีสง่า
               ปวงประชา ทุกท้องถิ่น สุขเกษม อยู่ร่มเย็น นิจนิรันดร์ จังหวะเร็ว ความว่า บารมี ศรีสง่า ดวงฤทัย เปี่ยมเมตตา
               ปวงประชา ทุกท้องถิ่น อยู่ร่มเย็น เป็นสุขเอย

                                  ้
                                                                  ้
                             ๔) ฝึกฟอนบุปผามาลัยด้วยตนเอง ตามชื่อท่าฟอนที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง
               ฝึกฟ้อนบุปผามาลัยให้คล่องแคล่วจ าได้แม่ย า
                                                                                             ้
                             ๕. น าฟอนบุปผามาลัยที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ฝึกให้ทีมวิทยากร จ านวน ๘ คน ฟอนจนสามารถจ าได้
                                 ้
               อย่างถูกต้อง แล้วประเมินผลความถูกต้องตามที่คิดประดิษฐ์ไว้ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง
                                                                                             ้
                                                          ้
                             ๖. ทีมวิทยากรช่วยกันขยายผลฝึกฟอนบุปผามาลัยให้สมาชิกชมรมอนุรักษ์ฟอนนครหริภุญไชย
               องค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดล าพูน เพื่อออกแสดงในงานต่างๆ ในจังหวัดล าพูน








                                                                   เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565   |   119
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128