Page 119 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 119
ชื่อผลงำน ฟ้อนโคม
แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
้
นายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา ผู้ประดิษฐ์ฟอนโคม เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างผลงานฟอนโคมว่า
้
โคมล้านนา เป็นมรดกของชาวเหนือที่มีมาแต่โบราณ ท าด้วยมือเป็นงานศิลปะชนิดหนึ่ง เพราะต้องท าด้วย
ความบรรจง รวมทั้งมีการประดับลวดลายต่างๆ ตามแบบทางภาคเหนือ ซึ่งมีความสวยงามได้กลิ่นอายแบบล้านนา
โคมล้านนาจะน ามาใช้ในพิธีสักการบูชาสิ่งศักดิ์ที่เคารพนับถือ ประดับตกแต่งวัดวาอาราม สถานที่ส าคัญ และอาคาร
บ้านเรือน เพอความสวยงามและเป็นสิริมงคลให้แก่เจ้าของบ้าน ชาวล้านนาเชื่อกันว่า การประดับโคมไฟให้เกิด
ื่
แสงสว่าง จะน าความสุขความเจริญมาให้กับตนและครอบครัว อกทั้งมีความเชื่อว่าเกิดมาชาติหน้าจะเป็นบุคคล
ี
ที่มีความรู้ความสามารถฉลาดเฉลียว เปรียบเสมือนแสงของโคมล้านนาที่สว่างไสวแผ่กระจายไปทั่วล้านนา
ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นที่มาของฟ้อนโคม
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ื้
ื้
๑) สืบค้นหาเพลงพนเมืองภาคเหนือ ที่มีแต่การบรรเลงท านองเพลง จังหวะพนเมือง ไม่มีเนื้อร้อง
บอกถึงความไพเราะเร้าใจ ฟังแล้วสะกิดใจ มีความอยากจะฟ้อน
๒) ค้นหาเพลงใน YouTube พบเพลงก าบี้ ของครูขวัญชัย พิพัฒน์พงษ์ ศรีคีตกรหริทาส ฟังแล้วถูกใจ
้
ประทับใจ ตกลงใจใช้เพลงก าบี้มาประกอบการฟอนโคม
ั
๓) ประสานขออนุญาตใช้เพลงก าบี้กับครูขวัญชัย พพฒน์พงษ์ ศรีคีตกรหริทาส ได้รับความร่วมมือ
ิ
เป็นอย่างดีอนุญาตให้ใช้เพลงก าบี้มาประกอบการฟอนโคมได้ จากนั้นครูขวัญชัย พพฒน์พงษ์ ศรีคีตกรหริทาส
ั
ิ
้
ได้บรรเลงเพลงก าบี้ให้ใหม่มีความไพเราะอลังการมากขึ้น แล้วเปลี่ยนชื่อเพลงก าบี้เป็นเพลงฟ้อนโคมหริภุญไชย
ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
้
๑. น าเพลงฟอนโคมหริภุญไชย มาก าหนดรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนโคม ให้ได้ครบ
้
จบเพลงพอดี
้
ื้
๒. คิดท่าฟอนและเลือกท่าฟอนที่มีความหมายจากท่าฟอนพนเมืองและท่าร าแม่บทของร าไทย
้
้
้
มาผสมผสานกันให้สอดรับกับรูปแบบจังหวะการเคลื่อนไหวเท้าของฟอนโคม ให้ได้ครบจบเพลงพอดี
้
๓. ก าหนดชื่อท่าฟอนร้อยเรียงให้มีความไพเราะกลมกลืน จ าง่าย มีความหมายตรงกับท่าฟอน
้
ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ความว่า โคมงาม ล้านนา บูชา ตนบุญ แผ่คุณ ศักดา เมตตา สุขสันต์
๔. ฝึกฟอนโคมด้วยตนเอง ตามชื่อท่าฟอนที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง
้
้
ฝึกฟ้อนโคมให้คล่องแคล่วจ าได้แม่ย า
้
๕. น าฟอนโคมที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ ฝึกให้ทีมวิทยากร จ านวน ๘ คน ฟอนจนสามารถจ าได้อย่าง
้
ถูกต้อง แล้วประเมินผลความถูกต้องตามที่คิดประดิษฐ์ไว้ ตั้งแต่ต้นเพลงจนจบเพลง
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 115