Page 194 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 194
้
้
็
้
ู
้
ไดอย่างถกตองแล้วหรือไม่ หากผูเรียนยังมีขอควรปรับ แก้ไข หรือเสริมในส่วนใดกจะให้คําแนะนําเพือความถูกต้อง
่
ั
ํ
่
ี
ทสุดของการขบร้องเพลงซอในแต่ละทานองต่อไป
์
้
้
๒.๓ การใช้บทบาทสมมติและสถานการณจําลอง การแสดงการขับร้องเพลงซอพนบ้านลานนา
ื
์
้
้
้
ื
ู
เป็นรปแบบการแสดงการขับร้องเพลงพนบานในลักษณะ “เพลงปฏิพากย” คือ รองโต้ตอบกันระหว่างชาย-หญิง
่
แต่เดิมเปนการร้องโต้ตอบกันเป็นคูของชายหญิงทีเรียกในภาษาการแสดงวา “คูถ้อง” ภายหลังมีการพฒนา
่
่
็
่
ั
้
่
้
่
ู
่
การแสดงในรปแบบของละคร มีเนือหาเปนเรืองราวทีเรียกวา “ละครซอ”ดังนัน การสอนในรูปแบบ
็
ํ
“บทบาทสมมติ” และ “สถานการณ์จาลอง” จงเปนรปแบบการสอนทีสาคญและจาเปนอยางยิงในการถ่ายทอด
ํ
่
ั
ํ
ึ
็
่
่
ู
็
ื
้
ั
ู
ึ
้
่
การขับรองเพลงซอพนเมือง ครูขวญชัยจงใช้รปแบบการสอนโดยสมมติใหผูเรยนชาย หญิงอยูในบทบาท “คูถ้อง”
่
้
ี
้
้
็
้
ื
ื
คอร้องเพลงโตตอบกันไปมา ในบางครังกมีการสอนโดยใชบทบาทสมมติในรูปแบบของ “ละครซอ” คอเล่นละคร
้
ื
้
้
เป็นเรองราว ผูเรยนแต่ละคนก็จะไดรับมอบหมายให้แสดงเปนตวละครต่าง ๆ ในเรือง ทังบทบาทสมมติ
่
็
่
้
ั
ี
่
่
ื
้
ิ
็
ทีเปนการร้องโต้ตอบเป็นคู หรอบทบาทสมมตแบบละครซอ ก็จะใชรูปแบบการสอนแบบ “จําลองสถานการณ์”
คอ จําลองเหตุการณ์วา ขณะนีกาลังทําการแสดงการขับร้องเพลงซอในงานมหรสพต่าง ๆ เชน งานทําบุญ
่
่
ื
้
ํ
ุ
้
บวชพระ งานทําบญสมโภชเสนาสนะ(ปอยหลวง) งานประเพณียเป็ง (ลอยกระทง) งานทําบญขึนบ้านใหม่ เปนตน
่
ุ
็
้
ี
้
้
์
ี
้
่
เพือกําหนดให้เนือหาการแสดงมความสอดคลองกับสถานการณของงานนัน ๆ
๓. การพฒนาการถ่ายทอด
ั
้
๓.๑ การใชสอ-อุปกรณ์ชวยประกอบการถ่ายทอด
่
่
ื
่
ู
่
้
การถ่ายทอดองค์ความรและรูปแบบการแสดงตาง ๆ ในปัจจบัน มีความสะดวกมากยิงขึน
ุ
้
ุ
้
่
่
์
ั
ู
่
ี
เนืองจากการใช้สือและอปกรณทางดานเทคโนโลยเข้ามาช่วยในการถายทอด ครขวญชัยเล็งเห็นถึงประสิทธิภาพ
่
่
ของสือและอุปกรณ์ทสามารถใช้ในการถายทอดได้เป็นอย่างดี จึงได้นํามาช่วยเสริมในการเรียนการสอน เช่น
ี
่
็
้
้
้
-การบนทึกเสียง การขบรองเพลงซอพืนบานเปนต้นแบบ ใช้สําหรับเป็นเสียงตนแบบ
ั
้
ั
ั
้
ในการขบร้องเพลงซอแกลูกศิษย์และผูสนทวไป
ั
่
่
ี
ุ
ั
้
ื
-การบนทึกเสยงดนตรีประกอบการขับร้องเพลงซอพนบ้าน ทังแบบอนรักษ์ดนตรี
้
้
พืนบานลานาดังเดิม(เพลงบรรเลงปีชมประกอบการขับรองเพลงซอพืนบาน)และ แบบประยุกต์ดนตรีรวมสมัย
้
้
้
่
ุ
่
้
้
้
่
้
ื
้
่
ั
(เพลงบรรเลงดนตรีสากล-ซอสตริง)เพือนําไปใช้เป็นสือฝึกหัดการฝึกขบรองเพลงซอพนบ้านได้อย่างสะดวก
ตามความต้องการ และอธยาศยของผเรยน
ั
ี
้
ู
ั
้
่
ั
ั
็
-การจดพิมพ์บทประพันธซอพืนเมืองด้วยตัวอักษรทีเปนระเบียบ อ่านง่าย จดทําเป็น
์
่
่
้
ู
่
รูปเล่มทีสวยงาม นาอ่าน และการนําบทซอฉายบนเครืองฉายขามศีรษะ(โปรเจ็คเตอร์)เพือความสะดวกในการดบท
่
ื
้
ในระหว่างการเรยนการสอนการขับรองเพลงซอพืนเมอง มีความเหมาะสม สะดวกโดยเฉพาะในหองเรียน
้
ี
้
ในโรงเรียน
190 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565