Page 196 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 196
่
ั
ิ
ื
๑.เป็นภูมปัญญาในเรืองของภาษา อันเป็นวฒนธรรมหลักของความเป็นเชอชาติ ภาษาล้านนา
้
็
้
ื
่
่
่
ู
่
ิ
ิ
่
ํ
หรอภาษาคําเมืองทีใช้กันมาตังแต่บรรพชน เปนสงทีล้าค่า เลศค่า และเป็นทีสุดของความภาคภมิใจในฐานะทีเป็น
้
ู
ั
ลกหลานของคนลานนา คนเมือง ภาษาลานนาหรือ ภาษาคําเมือง มีทังภาษาพูด และ ภาษาเขียน(อกขระลานนา)
้
้
้
ซึงชนชาตใดทีมีทังภาษาพูดและภาษาเขียนใช้เฉพาะของตนเองนัน บ่งบอกถึงความเป็น อารยะ ของชนชาตินน ๆ
้
่
้
ิ
่
ั
้
่
่
้
็
ั
้
๊
ึ
วา มีการพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ดังนน คร่าวจอยเพลงซอของพืนบ้านล้านนาจงเปนหนงภมิปัญญา
ึ
ู
ึ
่
่
ื
่
อนทรงคุณคา คอ ภาษาล้านนาทีตกผลกมาเป็นภาษาในบทคร่าวจ๊อยเพลงซอ อนวิจิตรบรรจง เนืองด้วย
ั
ั
ื
ี
่
้
ภาษาล้านนาหรือคําเมองทปรากฏในบทคร่าวจ๊อยเพลงซอพืนบ้านล้านนานัน เป็นภาษาแบบร้อยกรอง
้
่
ู
่
ั
ี
มฉันทลักษณ์ มรูปแบบการเรียงร้อยภาษาทงดงาม ตางจากภาษาพดหรือภาษาเขียนธรรมดา (ร้อยแก้ว) ทวไป
่
ี
ี
จึงเป็นอีกระดับหนึงของการใช้ภาษาทีมความประณต งดงาม ควรคาแกการอนุรักษ สืบสาน และภาคภูมใจ
์
่
่
ี
ิ
่
ี
่
่
่
๒.เป็นภมิปัญญาในเรืองของศิลปะการแสดง เนืองจากคร่าวจอยเพลงซอพนบ้านล้านนา
๊
ื
ู
้
่
ิ
่
ื
ั
ึ
ึ
่
้
้
ู
เป็นอีกรปแบบหนงของศลปะการแสดง หรอทีเรียกว่า มหรสพ ซงไดทําหนาทีสรางความสุข ความบนเทงใจ
่
้
ิ
่
ู
ื
ความผ่อนคลาย อยคูกบงานประเพณีตาง ๆ ของล้านนามาตังแตอดต “ช่างซอ”หรอ “นกคราวจอย”
้
่
ั
่
่
๊
ี
่
ั
ี
ั
้
ั
ู
้
ู
้
จึงเป็นผมีบทบาทสําคญในการสร้างสรรค์ สืบสานวัฒนธรรม ประเพณอนดีงามของลานนา เป็นผสร้างความสุข
็
่
ั
้
้
้
สนุกสนาน ปลดปล่อย ผ่อนคลาย ทงแก่ชาวบานล้านนาทัวไป และแกตัวของผูเปน “ช่างซอ” หรือ
่
้
่
้
่
ี
่
้
“นักคร่าวจ๊อย” ในฐานะทีเป็น “ศิลปินพืนบ้าน”อกดวย และหนาทีสําคัญอกหน้าทีหนงของคร่าวซอพืนบ้าน
ึ
่
ี
้
ล้านนา คอ เป็นเสมอนดังตัวแทนของชาวบ้านในการเป็นกระบอกเสยง ส่งต่อความต้องการไปยัง
ื
ื
ี
่
้
ผูมอานาจในการปกครองใหได้รับทราบความต้องการของชาวบ้านผ่านทางสอ คอ เสียงคราวจ๊อยเพลงซอ หรือ
ื
่
้
่
ี
ํ
ื
้
์
่
่
่
็
็
่
ื
่
ั
แม้กระทงการใช้คร่าวจ๊อยเพลงซอเปนสือบงบอกอัตลักษณ ความเปนตวตนของคนล้านนาแกผูคนในวัฒนธรรมอน
ั
อีกด้วย
้
๊
่
ั
ั
ั
่
้
้
ดังนน จึงปรารถนามุงหวงทีจะให คร่าวจอยเพลงซอพนบ้านลานนายังคงมีพืนทีในสงคมล้านนา
้
้
่
ื
้
่
้
้
์
ี
ให้ได้ทําหน้าทีสาคัญทัง ๒ อย่างทีกลาวมาเบืองต้นน สร้างสรรค์ประโยชนเคียงคูกับคนลานนาหรอคนเมือง
ื
ํ
่
่
่
้
่
้
ั
ิ
่
้
์
ู
รบใชสงคม และแผนดนลานนาสืบไป ถึงแม้อาจจะต้องมการปรบเปลียน ประยุกต รปแบบการนําเสนอ การแสดง
ี
ั
ั
่
ศิลปะแขนงนีไปในบางสวนเพือใหเข้ากับยุคสมัยและการเปลยนแปลงของสงคมยุคใหม่ก็ตาม แต่ก็ปรารถนาจะให้
่
้
้
ั
่
ี
ศลปะการขับร้องคร่าวจ๊อยเพลงซอพนบ้านลานนานี ยังคงธารงอยูคูกบแผนดินล้านนาสบไปตราบเท่านาน
ํ
้
้
้
ื
ั
่
ื
ิ
่
่
192 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565