Page 201 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 201
่
ุ
สิงทปรารถนาจะฝากไว้กับอนชนรนต่อไปนนก็คือ ปรารถนาทจะเชิญชวนมาร่วมกันเปนส่วนหนง
่
ี
ึ
่
่
็
ุ
้
ั
ี
่
ื
้
๊
่
้
้
่
ิ
ู
่
่
ในการสบสานลมหายใจของศิลปะการขับรองคร่าวจอยและเพลงซอนีไวให้อยคูกับแผนดนลานนาต่อไป คําวา
้
ื
รวมกันสบสานลมหายใจนน ก็คือการมาร่วมดวยชวยกัน “อนุรกษ์ สบสาน พัฒนา และเผยแพร่” ซึง ๔ คํานี ้
่
ั
้
ื
้
ั
่
่
มความหมายมากกับการสืบต่อลมหายใจของศิลปะแขนงนี ้
ี
ิ
่
ิ
ั
ู
ุ
๑. อนุรักษ์ อยากจะเชญชวนลกหลาน ยุวชนโดยเฉพาะคนเมืองล้านนามาร่วมกนอนรักษ์ คือ รักษาสงดี
ๆ ทมีอยูในศิลปะการขับร้องคร่าวจ๊อยเพลงซอพืนบ้านล้านนา คาวาอนุรักษ์โดยรวมแล้วกหมายถึง ตระหนัก
ํ
้
่
ี
่
่
็
ั
่
ในคุณค่า เหนประโยชน์ และมีใจทีจะรกษา หวงแหน สิงดี ๆ ทีเป็นแบบฉบับของศิลปะแขนงนไว อาทิ รูปแบบ
่
่
ี
้
้
็
ฉนทลักษณ์คร่าวจ๊อยเพลงซอพนบานล้านนาทถูกตองตามแบบแผนโบราณทีบรรพชนได้สร้างสรรค์ไว ศึกษาเรียนร ้ ู
้
่
ื
้
ั
ี
่
้
้
์
ั
่
ั
การประพนธบทหรือแต่งคร่าวซอทํานองเพลงตาง ๆ ลักษณะการขับร้องเพลงซอ การขบร้องคร่าวจ๊อยแบบฉบับ
่
ี
ทถูกต้อง เป็นต้น
้
่
่
ื
ิ
๒. สบสาน เมืออนุรกษ์แล้วก็ใครอยากเชญชวนลกหลาน ยุวชนมาร่วมกันสบสานศิลปะแขนงนีใหคงอยู ่
ื
้
ั
ู
ื
่
ื
สบต่อไป ลกษณะการสบสานอาจมีหลายรูปแบบ เปนไปตามความรก ความชอบสวนตัวซึงจะเป็นการสืบสาน
็
ั
ั
่
ึ
่
ั
ี
่
์
ั
ทยังยืน เพราะเป็นการสืบสาน “ด้วยใจ” บางคนอาจจะถนัดและชอบในการศกษาฉนทลักษณและฝึกหด
การประพันธ์บทคร่าวจ๊อยเพลงซอ กจะมงสบสานในด้านวรรณศิลป์ บางคนอาจจะถนัดและชอบในการขบร้อง
ื
ั
่
ุ
็
คร่าวจ๊อยและเพลงซอกจะมุงสืบสานในด้านการแสดง หรอแม้กระทังบางคนอาจจะถนัดและชอบในเรองของ
็
่
่
ื
ื
่
็
่
ี
่
ื
ื
่
้
เครืองดนตรีประกอบการขับรองเพลงซอคอ ปีจุม หรือ สะล้อ ปิน กสามารถทีจะสืบสานในด้านคตศิลป์คอด้าน
้
ึ
้
่
่
ู
ดนตรีประกอบการขับรองคร่าวจ๊อยเพลงซออกด้านหนึงกได้ ทังนีขนอยกับความรก ความชอบของแต่ละคน
้
็
ั
ี
้
่
ึ
ซงจะเป็นการสบสานทีคอนขางยังยืนและมีความสุขในการได้ร่วมสืบสาน
ื
้
่
่
่
่
ื
ื
่
ุ
ั
๓. พัฒนา เมออนุรกษ์ สบสานแลว ก็ใครอยากใหลกหลาน ยวชนได้รวมกัน “พัฒนา”ศิลปะแขนงนี ้
่
ู
้
้
่
ี
่
่
้
่
์
่
่
ี
่
ให้มีการปรับประยุกตเพือสิงทีด ๆ ยิงขึน คาวาพฒนาคือการเปลียนแปลง แตเป็นการเปลยนแปลงเพือสิงทดงาม
่
ี
่
ั
ี
ํ
่
่
่
่
ี
่
ยิงขน เมือยุคสมัยเปลียนแปลงไป การจะให้ศิลปะแขนงนีธํารงคงอยและเขากับการเปลยนแปลงของสงคมได้
้
ั
่
้
ึ
ู
้
่
่
จําเป็นต้องมการพัฒนา ปรับเปลียนตามความเหมาะสม ตัวอย่างเชน การปรับใชภาษาร่วมสมยมาผสมผสาน
ี
ั
้
่
่
็
้
ในการประพันธ์บทคราวจอยเพลงซอ ไม่ใช้แต่ภาษาลานนายคเก่า ซึงบางคํา บางข้อความ คนรุนใหม่กไม่สามารถ
่
๊
่
ุ
ี
้
ั
เข้าใจความหมายไดถูกต้อง ชดเจน เพราะไม่ได้มีการใชในชวิตประจําวนแลว การผสมผสานภาษาในบทคราวจ๊อย
่
้
้
ั
ั
เพลงซอแบบร่วมสมัยทเหมาะสม เป็นรูปแบบการพฒนาศลปะแขนงนีให้รับใช้ อยูคกับสังคมตอไปได หรือ
้
่
่
ิ
ู
่
้
่
ี
การประยุกต์ดนตรีประกอบการขับร้องเพลงซอจากเครืองดนตรีพืนบ้านเป็นเครืองดนตรีสากล เพือใหเขากับ
้
้
้
่
่
่
่
ั
่
้
ุ
่
ี
ความต้องการของผูฟงโดยไมไดทําให้ทานองเพลงซอเปลียนแปลงไป ก็เปนอกรูปแบบหนึงของการประยกต์
ํ
็
้
เพือการพฒนาให้ศลปะแขนงนีอยูรอดต่อไปได้ เป็นต้น
ิ
ั
่
้
่
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 197