Page 32 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 32
๒๖
ผลงำนโดดเด่นมีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับ
ฟ้อนเทวอำรักษ์ขำเท้ำทั้ง ๔
ิ
แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: พธีการขึ้นท้าวทั้งสี่ ตามความเชื่อของคนล้านนา เพอสร้างความสิริมงคล
ื่
ในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ น ามาสู่กรอบแนวคิดในเรื่องการสร้างสรรค์ชุดการแสดง โดยน าความเชื่อเรื่องการบูชา
ขึ้นท้าวทั้งสี่ ซึ่งใช้ผู้แสดงสมมุติตนองเป็นเทพต่าง ๆ ทั้ง ๖ องค์ โดยแต่งกายตามสีของธงที่เป็นสัญลักษณ์
้
ใช้ปักบนกระทง และผู้ฟอนประกอบอก ๘ คน โดยการแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ในครั้งนี้ ใช้ชื่อชุดการแสดง
ี
“ฟ้อนเทวาอารักษ์ขาท้าวทั้งสี่”
ิ
เทคนิคและวธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: ผู้สร้างสรรค์มีแนวความคิดในการสร้างสรรค์การแสดงชุด
“ฟ้อนเทวาอารักษขาท้าวทั้งสี่” โดยมีแรงบันดาลใจจากการศึกษาเรื่องการน าความเชื่อของคนล้านนา มาเป็นพื้นฐาน
์
หลักในการสร้างงาน โดยน าเอาความเชื่อเรื่องการ “ขึ้นท้าวทั้งสี่” น ามาสร้างสรรค์ออกมาในรูปแบบงาน
ด้านนาฏศิลป์ ด้วยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากการสังเกต การสัมภาษณ์ และการเข้าร่วมพธีกรรม จากนั้นน ามา
ิ
วิเคราะห์ สังเคราะห์จนน ามาซึ่งการแสดงชุดดังกล่าวมีความน่าสนใจ และมีความพเศษ คือ การแสดงชุด
ิ
้
ื่
“ฟอนเทวาอารักษ์ขาท้าวทั้งสี่” ซึ่งผู้สร้างสรรค์ได้แบ่งการแสดงออกเป็น ๔ ช่วง ได้แก่ ช่วงที่ ๑ บทออกะโลงหรือ
กลอนสี่สุภาพ ประกอบด้วย บทร้องที่มีเนื้อร้อง หมายถึง การอัญเชิญเทพท้าวทั้งสี่ให้ทรงมาช่วยปกปักรักษาคุ้มครอง
ซึ่งผู้สร้างสรรค์ก าหนดผู้แสดง จ านวน ๖ คน ซึ่งมีความหมายถึงเทพทั้ง ๖ องค์ ได้แก่ พระอนทร์ ท้าวธตรฐ
ิ
ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูฬปักษ์ ท้าวกูเวร และพระแม่ธรณี โดยยืนประจ าแท่นตามต าแหน่งและฟอนร าพร้อมกัน
้
ั
ตามบทร้อง ช่วงที่ ๒ “อญเชิญ” เพลงจังหวะช้า ด้วยการย่ าเท้าตามจังหวะเพลง โดยนักแสดงหญิงจ านวน ๘ คน
ั
้
อนหมายถึงมวลมนุษย์ทั้ง ๘ ทิศ ฟอนร าพร้อมกัน ทั้งนี้ผู้สร้างสรรค์ใช้ท่าร าแบบนาฏศิลป์ล้านนา เช่น ท่าบิดบัวบาน
ท่าวาดมือบน ท่าไหว้ ท่าชูดอกไม้ค า และท่าร าแบบนาฏศิลป์ไทย เช่น ท่าจีบส่งหลัง ท่าจีบม้วนคลายมือ ท่ายกเท้า
หน้า และท่าวิ่งซอยเท้า ช่วงที่ ๓ “บูชา” เพลงจังหวะช้าช่วงที่ ๒ ใช้รูปแบบการแปรแถวในต าแหน่งต่าง ๆ ได้แก่
แถวปีกกาคว่ า แถววงกลม แถวรูปโค้ง แถวหน้ากระดานสองแถว เพอแสดงให้เป็นกระบวนท่าของผู้แสดงเทพทั้ง
ื่
ั
้
๖ องค์ และช่วงที่ ๔ “ฮกษา” เพลงจังหวะเร็ว โดยผู้สร้างสรรค์ก าหนดให้ใช้ท่าฟอนที่นักแสดงหญิงสื่อให้เห็นถึง
ความรื่นเริง และเป็นการเฉลิมฉลองปิติยินดีที่เทพทั้ง ๖ ได้เสด็จมาประทับยังแท่นท้าวทั้งสี่ เพื่อปกปักรักษา
ื้
ั
ดนตรีประกอบกำรแสดง: โดยประพนธ์บทร้องเป็นภาษาถิ่นพนเมืองภาคเหนือ ผู้ประพนธ์ได้น า
ั
ั
ั
การขับกะโลง หรือกลอนสี่สุภาพ ซึ่งเป็นค าประพนธ์ระดับสูงของล้านนามาประพนธ์เป็นบทร้องในช่วงแรก จ านวน
ั
๒ บท ประกอบการสีสะล้อ มีความหมายถึง การอญเชิญเทพทั้ง ๖ มายังแท่นท้าวทั้งสี่ ในช่วงที่ ๒ ผู้ประพนธ์
ั
ได้ประพนธ์ท านองเพลง โดยการบรรเลงเครื่องดนตรีวงสะล้อ และซึง ในอตราจังหวะ 2 ชั้น เพอเป็นการบูชาและ
ั
ั
ื่
ั
ั
ต้อนรับเทพทั้ง ๖ องค์ และช่วงที่ ๓ ใช้วงปาดเมือง (ปี่พาทย์) จ านวน ๒ รอบ และประพนธ์ท านองเพลงในอตรา
จังหวะชั้นเดียว จ านวน ๒ รอบ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่และศักดิ์สิทธิ์ของพิธีกรรมการขี้นท้าวทั้งสี่