Page 35 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 35

๒๙

                                      ช่วงที่ ๓ การอญเชิญพระทักขิณโมลีธาตุหรือพระธาตุเจ้าศรีจอมทองออกมาเพอรับ
                                                                                                          ื่
                                                  ั
              การสรงน้ า และขอพรให้ปกปักรักษาคุ้มครองเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตลอดจน

                                                    ้
                                                             ้
                                                                    ้
              การแสดงถวายและเพอเฉลิมฉลองอาทิเช่น ฟอนเล็บ ฟอนเจิง ฟอนดาบ และฟอนเเง้น ประกอบการบรรเลงดนตรี
                                 ื่
                                                                                 ้
                                                                                                        ั
              จากวงดนตรีแบบพนบ้าน เป็นการผสานศาสตร์และศิลป์ ด้วยการน าท านองซอและเพลงที่ปัจจุบันหารับฟงได้ยาก
                               ื้
                                             ั
              มาผสมผสานกับการแสดง เกิดเป็นอตลักษณ์ที่งดงามประทับใจ ส าหรับรายละเอยดของบทเพลง ได้ออกแบบและ
                                                                                  ี
              บรรจุบทเพลงให้สอดคล้องกับแนวคิดการแสดง สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็น “เชียงใหม่สายใต้” ดังนี้ ๑. ซอบะเก่าบะ
                                                          ิ
              กล๋าง เป็นท านองซอซึ่งใช้จังหวะแบบพนบ้าน และอสระ ปัจจุบันไม่ปรากฏการซอท านองนี้แล้ว ๒. วงสะล้อ ซอ ซึง
                                               ื้
              โดยใช้บทเพลงที่เป็นของเดิม และปรับปรุง ตลอดจนประพนธ์ขึ้นใหม่ ซึ่งแสดงถึงความเป็นชาวเชียงใหม่สายใต้
                                                                 ั
              โดยใช้แนวการบรรเลงจากฐานข้อมูลดนตรีล้านนาเจอรัลด์ไดค์ ราว ๕๐ ปี ก่อน ได้แก่ ๑) เพลงปราสาทไหว

              ใช้หน้าทับแบบชาวบ้าน ๒) เพลงปี่จุมห้า ก ากับหน้าทับด้วยกลองมองเซิงส าเนียงเชียงใหม่สายใต้ ๓) กลองจุม

                                                                   ั
              วัดพระธาตุศรีจอมทอง ท านองกลองจุมนี้ใช้บรรเลงเฉพาะการอญเชิญพระบรมธาตุศรีจอมทอง ๔) วงสะล้อ ซอ ซึง
                                                                      ี
              ประสมกลองเต่งถิ้ง บรรเลงเพลงต่าง ๆ ได้แก่ ๑. เพลงปี่จุมห้าอกส านวนหนึ่งที่ปรับปรุงใหม่ ๒. เพลงเทิดขวัญ
              เป็นเพลงที่ประพนธ์ขึ้นใหม่โดยใช้ฐานคิดจากวัฒนธรรมดนตรีล้านนา ใช้จังหวะหน้าทับผีมดกินน้ ามะพร้าว สะท้อน
                             ั
              ความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษของผู้คนในท้องถิ่น ตลอดจนเป็นการใช้หน้าทับที่มีความซับซ้อน และใช้หน้าทับเพลงมวย

              แสดงถึงความงามแบบอิ่มเอม เกิดความปิติในกุศล

                      การแข่งขันแบ่งออกเป็น ๔ ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้


              ซึ่งภาคเหนือ ในรอบคัดเลือกจัดขึ้น ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพนธ์
                                                                                                            ั
              ๒๕๖๓ โดยมีทีมที่ผ่านการคัดเลือกจากการส่งคลิปการแสดง และมาแข่งขันทั้งหมด ๑๐ ทีม โดยมี ศิลปินแห่งชาติ


                                                                                           ื่
              และคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จากหลายหน่วยงานร่วมชมและให้คะแนนการตัดสินเพอคัดเลือกเหลือ ๓ ทีม
              พร้อมให้แนวคิด ตลอดจนข้อเสนอแนะ เพอให้ทั้ง ๓ ทีมที่ผ่านการคัดเลือกน าไปปรับปรุงประยุกต์ และแก้ไข
                                                    ื่

                           ื่
                                                                             ื่
              ข้อผิดพลาด เพอให้การแสดงมีความสมบูรณ์มากที่สุด โดยจัดการแข่งขันเพอค้นหาสุดยอด"รวมศิลป์ แผ่นดินสยาม"
              ภาคเหนือ ขึ้น เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมกาสะลองค า มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40